สุชีวัน นันธิสิงห์เสาวรส ทองอ้มศศิธร วงศาสุลักษณ์อัศนีพร ระดิ่งหินนิตยา เกษตรสินธุ์มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-222021-09-222564-09-222561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63636ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 250วัตถุประสงค์: บุคลากรตระหนักถึงคุณภาพการดูแล และให้การพยาบาลป้องกันการเกิดแผลกดทับได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับ รูปแบบดำเนินการ: โครงการ CQI วิธีดำเนินการ: จัดตั้งทีมงานสำรวจปัญหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และหาแนวทางแก้ไข โดยทบทวนบุคลากรให้มีความเข้าใจ และเห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามแนวทาง MEWS Pressure Ulcer Prevention ฝึกทักษะการพลิกตะแคงตัว การจัดท่าที่ลดแรงกดทับ จัดทำบอร์ด“ไร้แผลกดทับแค่พลิกตัว”สื่อสาร Risk factors ของผู้ป่วยแก่บุคลากรในทีม สร้างแนวปฏิบัติการป้องกัน ติดวัสดุลดแรงกดทับในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับทุกราย เพิ่มการรับรู้ความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับแก่ผู้ป่วยและญาติโดยใช้แผ่นภาพพลิกให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเกิดแผลกดทับ และจัดทำ QR Code ประเมินความพึงพอใจ และคุณภาพการสอน ผลดำเนินการ: บุคลากรปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติของโครงการ ผู้ป่วยไม่เกิดแผลกดทับ ผู้ป่วยและญาติมีความพึงพอใจต่อการให้ความรู้เรื่องการป้องกันการเกิดแผลกดทับthaมหาวิทยาลัยมหิดลประสิทธิภาพการดูแลแผลกดทับการพลิกตะแคงตัวโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลป้องกันการเกิดแผลกดทับProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล