ณัฐชยา นัจจนาวากุลอนรรฆ จรัณยานนท์พรภวิษย์ เฉยเจริญ2024-01-152024-01-15256125672561สารนิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92693ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2561)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประวัติชีวิตและอัตลักษณ์ในการบรรเลงระนาดเอกของครูชัยยุทธ โตสง่า 2) ศึกษากระบวนการถ่ายทอดเทคนิคการบรรเลงระนาดเอกของครูชัยยุทธ โตสง่า 3) ศึกษาเทคนิคการบรรเลงระนาดเอก สาหรับการประดิษฐ์บทเพลงเดี่ยว ในอัตราจังหวะสองชั้น วิธีการดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความ และนาเสนอในรูปแบบความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ครูชัยยุทธ โตสง่า ได้รับการถ่ายทอดอย่างเข้มข้นจากครูหลากหลายท่าน จนเกิดเป็นความเชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยทั้งทางทฤษฎี การปฏิบัติ รวมถึงการถ่ายทอด โดยเฉพาะการบรรเลงระนาดเอก สาหรับการสอนทักษะการบรรเลงระนาดเอกของครูชัยยุทธ โตสง่า มีอยู่ 2 ลักษณะ คือสอนควบคู่ไปกับการบรรเลงเพลงเดี่ยว และ การสอนตามขนบโบราณโดยยึดหลักการสอนที่สาคัญ 4 ประการ ได้แก่ สอนตามความสามารถของผู้เรียน เน้นวิธีการบรรเลงมากกว่าบทเพลง เน้นพื้นฐานการบรรเลงระนาดเอกที่ถูกต้อง สอนทักษะอย่างเป็นขั้นเป็นตอน ด้วยการสอนแบบมุขปาฐะ โดยใช้การอธิบาย การสาธิต ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ซึ่งสิ่งที่ครูเน้นมากที่สุดในการสอนคือ ความสง่างามของบุคลิกท่าทางการบรรเลงระนาดเอก การจับไม้ระนาดเอก และการทาเสียงระนาดเอกให้หลากหลาย ชัดเจน ได้อรรถรส ตามลักษณะของเพลงThe purposes of this research are to:1) study the biography of Chaiyuth Tosa-ngaand his signature style of playing the ranard-ek 2) study the basic ranard-ek performance transmission process of Chaiyuth Tosa-nga, and 3)study the technique of playing the ranard-ek for the purposes of composition. This study uses qualitative methods, and the data was collected by studying documentaries and by conducting in-depth interviews. The data was analyzed using the analytic induction method and presented descriptively. The research findings are that Chaiyuth Tosa-nga was an expert in Thai classical music (theory, performance, & pedagogy), especially inranard-ek performance, since he had received knowledge intensively transmitted from many pedagogues. There are two styles of his ranard-ek pedagogy. The first involves training along with giving an instrumental performance, while the second, traditional, method consisted of four principles: (1) development of the student's competency (2) focus on the performance style of Chaiyuth Tosa-nga (3) emphasis on basic skills, and (4) teaching skills step-by-step. These four principles were taught with explanation and demonstrations, using an oral transmission method to help the student understand and to be able to perform. Above all, the student was taught to maintain a majestic posture, correct mallet grip and positioning, and to vary the sound produced by the ranard-ek to serve the interpretation of the Musicก-ญ, 139 แผ่น : ภาพประกอบ (สีบางภาพ)application/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าระนาดเอกการศึกษากระบวนการถ่ายทอดการบรรเลงระนาดเอกของครูชัยยุทธ โตสง่าA study of transmission in Ranard-Ek performance of Kru Chaiyuth Tosa-ngaMaster Thesisมหาวิทยาลัยมหิดล