สารัชย์ เจี่ยภักดีSarachaya Chiabhakdeeมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร2021-06-292021-06-292564-06-292561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62795ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 91การจัดโครงการหลักสูตรอบรมระยะสั้นของหน่วยงานที่ผ่านมา จะพบว่าทางฝ่ายงานจะไม่สามารถทราบถึงจำนวนผู้เข้าอบรมที่แท้จริงหรือประมาณการคร่าวๆ ได้ จนกว่าจะถึงวันเริ่มอบรมก่อให้เกิดการสูญเสีย (7-Waste) ในเรื่องของเวลาในการรอคอย (Waiting-Time) ผู้สมัครเข้าอบรมที่อยู่ระหว่างการตัดสินใจหรือรอผลการอนุมัติเข้าอบรมก่อน แล้วถึงจะมาทำการลงทะเบียนอบรมออนไลน์ผ่านระบบ จนถึงวันอบรมแล้วค่อยมาสมัคร และเรื่องของงบประมาณ (Cost) ที่จะต้องใช้ในการเตรียมความพร้อมเพื่อให้พอเพียงกับผู้เข้าอบรม จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น เมื่อนำองค์ความรู้ในเรื่องของ CRM ในเรื่องของการติดตามลูกค้าแล้ว จึงเกิดแนวคิดที่จะปรับปรุงเพิ่มเติมกระบวนการดำเนินใหม่ กล่าวคือ ให้มีกระบวนการติดตามผู้สมัครอยู่ เป็นระยะๆ และบันทึกสถานะของผู้สมัครให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ถือว่าเป็นการปรับปรุงสถานะของผู้สมัครเข้าอบรม ให้เปลี่ยนมาเป็นผู้เข้าอบรม ซึ่งเป็นการ Log-in CustomerthaมหาวิทยาลัยมหิดลCRMผู้สมัครเข้าอบรมผู้เข้าอบรมสถานะหลักสูตรMahidol Quality Fairบันทึกไว้...ช่วยติดตาม (ข้อมูลผู้เข้าอบรม)Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล