อรจิรา แป้นนางรองขวัญใจ ชะไวยมุกดา กระแสกุลมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-172021-09-172564-09-172561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63575ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 243ดวงตาเป็นอวัยวะสำคัญช่วยในการมองเห็น ทำให้สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความบกพร่องทางการมองเห็นเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้คุณภาพชีวิตผู้ป่วยลดลง ผู้ป่วยสายตาเลือนรางระดับ 2 เป็นผู้ที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น หากไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ทักษะการใช้สายตาจะหยุดพัฒนา ทำให้มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวัน ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ เกิดความวิตกกังวล ซึ่งการฝึกทักษะให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้ด้วยตนเอง เช่นการอาบน้ำ การแปรงฟัน การแต่งตัว การรับประทานอาหาร การรินน้ำ จะทำให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการดำเนินชีวิต มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งนี้การมีส่วนร่วมของครอบครัว/ ผู้ดูแลเป็นการเสริมแรงทางบวกให้ผู้ป่วยปฏิบัติ และช่วยเหลือตัวเองอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน แนวทางการดูแลผู้ป่วยสายตาเลือนราง โดยใช้ Nursing Support Low Vision Program ส่งเสริมให้ผู้ป่วยสายตาเลือนรางระดับ 2 มีความรู้ และทักษะสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ด้วยตัวเองด้วยความมั่นใจ รู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ไม่เป็นภาระแก่ครอบครัว มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นthaมหาวิทยาลัยมหิดลผู้ป่วยสายตาเลือนรางคุณภาพชีวิตความบกพร่องทางการมองเห็นการดูแลผู้ป่วยโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยสายตาเลือนรางProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล