ณัฐวิชช์ วงษ์ฮ้อเจริญปฐมพงษ์ แสงพันธ์สิทธพร หาพร2023-11-302023-11-302566-11-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91257ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 185ผลงานนี้จัดทeขึ้นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบการดูดน้ำลาย (Suction) ของยูนิตทันตกรรม จากปัญหาที่ได้รับแจ้งจากคลินิก เรื่องระบบ การดูดน้ำลาย พบว่า ขณะใช้งานระบบการดูดน้ำลายมีแรงดูดเบาส่งผล กระทบต่อการทำหัตถการ เนื่องจาก Suction ที่ใช้งานในปัจจุบันเป็นแบบ Air Suction (ใช้ลมทำให้เกิดแรงดูด) ที่เชื่อมต่อกับหัวดูด High Power Suction ทำหน้าที่ในการดูดละอองฝอยที่ฟุ้งกระจายภายในช่องปากขณะกรอ ฟัน และหัวดูด Saliva Ejector ทำหน้าที่ในการดูดน้ำลายและของเหลว ภายในช่องปาก เมื่อมีการใช้งาน 2 หัวดูดพร้อมกันส่งผลให้แรงดูดของหัวดูด ทั้ง 2 หัวมีแรงดูดเบา ทำให้มีนำ้ลายตกค้างในช่องปากที่เป็นอุปสรรคต่อการ ทำหัตถการของทันตแพทย์ หน่วยซ่อมบำรุงจึงได้หาแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพแรงดูดของ Suction จึงได้นำชุด Motor Suction ของคลินิกที่ รอจำหน่ายกลับมาใช้ โดยทำการดัดแปลงติดตั้งหัวดูด High Power Suction กับชุด Motor Suction ส่วนหัวดูด Saliva Ejector ต่อกับ Air Suction เดิม ทำให้หัวดูดทั้ง 2 หัว แยก motor ใช้งาน เป็นอิสระจากกัน ผลการทดลอง พบว่า การดัดแปลงดังกล่าว สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ Suction ได้application/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าระบบดูดน้ำลายSuctionยูนิตทันตกรรมMahidol Quality FairSuction สู้โควิด-19Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล