Natee ChiengchanaAmpai BuranaprapukSmatya Wathawathana2024-01-112024-01-11201720242017Thesis (M.A. (Music))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92335Music (Mahidol University 2017)This case study aimed to investigate the effectiveness of music therapy interventions on quality of life in a person with Facioscapulohumeral Muscular Dystrophy. The participants in this study were client, and caregiver. The music therapy sessions consisted of 12 sessions twice a week. The first seven sessions were individual sessions and the last five sessions were group sessions associated with the caregiver. Music therapy interventions included live music, singing and playing instruments, song choice, lyrics analysis, and improvisation. After two weeks, WHOQOL-BREF-THAI questionnaire was provided to the client to measure the quality of life scores and the interviews with a caregiver were conducted separately. The results of these were analyzed using the qualitative case analysis, visual analysis and interview inductive analysis. The results of this study supported that the client's quality of life was enhanced in physical domain, psychological domains, social relationships domain, and environment domain. The client's WHOQOL-BREF-THAI scores were increased from 19 to 27 points in physical domain, 18 to 26 points in psychological domain, 5 to 8 points in social relationships domain, 19 to 28 points in environment domain, and 67 to 97 points in the total quality of life scores. Moreover, the music therapy interventions helped the bonding between the client and the caregiver, also brought blissful atmosphere to staff.การวิจัยกรณีศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของดนตรีบำบัดในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนประเภทฟาซิโอสคาปูโลฮิวเมอรัลโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยกึ่งทดลอง และการวิจัยกรณีศึกษา ผู้เข้าร่วมวิจัยประกอบด้วย ผู้ป่วย และผู้ดูแล ขั้นตอนในการวิจัยดนตรีบำบัดมีขึ้นสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวมทั้งหมด 12 ครั้ง โดยครั้งที่ 1-7 เป็นการทำกิจกรรมดนตรีบำบัดชนิดรายเดี่ยว และครั้งที่ 8-12 เป็นการบำบัดกลุ่มโดยมีผู้ดูแลเข้าร่วมกิจกรรมด้วย กิจกรรมดนตรีบำบัดประกอบไปด้วย การใช้ดนตรีสด การร้องเพลงและเล่นเครื่องดนตรี การเลือกเพลง การวิเคราะห์เนื้อเพลง และการด้นสด ในทุก 2 สัปดาห์ผู้วิจัยนำเครื่องมือชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย ให้กับผู้ป่วยเพื่อประเมิน นอกจากนี้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ดูแลทุก 2 สัปดาห์เช่นเดียวกัน เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหลังจากการเข้ารับกิจกรรมดนตรีบำบัด การวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์กรณีศึกษาเชิงคุณภาพ กราฟเส้น และการวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้เข้ารับบริการดนตรีบำบัดมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม โดยระดับคะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยในด้านร่างกายเพิ่มขึ้นจาก 19 เป็น 27 คะแนน ด้านจิตใจเพิ่มขึ้นจาก 18 เป็น 26 คะแนน ด้านความสัมพันธ์ทางสังคมเพิ่มขึ้นจาก 5 เป็น 8 คะแนน ด้านสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นจาก 19 เป็น 28 คะแนน และผลคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวมเพิ่มขึ้นจาก 67 เป็น 97 คะแนน จากนอกจากนี้กิจกรรมดนตรีบำบัดยังช่วยสานสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้เข้ารับการบำบัดและผู้ดูแล ทั้งยังสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นสุขให้แก่พนักงานผู้ดูแลสถานที่viii, 135 leavesapplication/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าMusic therapyMuscular dystrophyFacioscapulohumeral muscular dystrophyA case study of using music therapy interventions to enhance quality of life in a person with facioscapulohumeral muscular dystrophyการวิจัยกรณีศึกษาการใช้ดนตรีบำบัดเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อเจริญผิดเพี้ยนประเภทฟาซิโอสคาปูโลฮิวเมอรัลMaster ThesisMahidol University