เชาวลิต นาคทองมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสัตวแพทยศาสตร์. ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุข2016-02-292017-04-072016-02-292017-04-072016-02-292557Journal of Applied Animal Science. ปีที่ 7, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2557), 9-141906-2257https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1661โรค SARA เป็นโรคที่พบได้บ่อยในฝูงโคนมที่มีการจัดการที่ดี (well-managed) มีผลิตผลน้ำนมสูงต่อตัวต่อวัน ดังนั้น เราจำเป็นที่จะต้องทราบและติดตามภาวะโรคนี้ตลอดเวลา เพื่อไม่ทำให้ฝูงโคนมป่วย ซึ่งมีผลทำให้ปริมาณน้ำนมและไขมันในน้ำนมลดลง ซึ่งถือว่าเป็นการสูญเสียเงินในทางเศรษฐกิจจำนวนมาก การวินิจฉัยที่สำคัญก็คือ อาการเฉพาะทางคลินิก การวัดค่า ruminal pH ซึ่งจะต้องไม่ต่ำกว่า 5.5 (critical point) และ faecal parameters การทำ rumenocentesis เพื่อเก็บตัวอย่าง จะให้ผลดีและถูกต้องมากกว่าการใช้ท่อ (stomach tube) แม้ว่าจะทำได้ง่าย การรักษาและป้องกันโรค SARA จึงขึ้นอยู่กับการให้อาหารและการจัดการที่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมของฟาร์ม เพื่อลดการเกิดภาวะเป็นกรดในกระเพาะรูเมน เช่น การใช้วัคซีน S. bovis หรือการเติมด่างอ่อน เช่น โซเดียมไบคาร์บอเนทลงในอาหารSubacute ruminal acidosis (SARA) is a common disease in well-managed, high milk yielding in dairy herds. Monitoring and diagnosing are very sensitive to do its routine for dairy herds. SARA may be affected to reduce milk production and milk fat in early lactation or mid lactation cows. Diagnostic tools are clinical sign outcome or ruminal pH (≥ 5.5) and faecal parameters: faecal sieing and faecal lipopolysaccharide(LPS). Rumenocentesis is a good practice and only recommend method for SARA diagnosis although stomach tube use is easy but its value data is not correct. The treatment and prevention of SARA is depending on feeding and management base following to each situation of dairy herds in order to reduce rumen acidosis load such as used S. bovis vaccine or added sodium bicarbonate.thaมหาวิทยาลัยมหิดลSARAการเจาะกระเพาะโคฝูงโคนมวัคซีน S. bovisrumenocentesisdairy herdS. bovis vaccineOpen Access articleการวินิจฉัยและการรักษาของโรค Subacute Ruminal Acidosis (SARA) ในโคนมDiagnostic and treatment of Subacute Ruminal Acidosis (SARA) on dairy cattleReview Articleคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล