รุ่งทิพย์ พงษ์อัคคศิราเอกนรินทร์ โชคนาคะวโรภครตี ชัยวัฒน์Rungtip PongakasiraAkenarin ChocknakawaroPakaratee Chaiyawatมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด2022-07-132022-07-132565-07-132564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72126ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 41การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของความปกติใหม่ ที่ มีต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษาในหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต และหลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต จำนวน 32 คน เก็บข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนาและสถิติอนุมาน ทดสอบสมมุติฐานความแตกต่างและความสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า ความ คิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยภายในองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความ คิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความ คิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์ความ แตกต่าง พบว่า ปัจจัยภายนอกด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม สังคมและ เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี ให้ระดับความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษาโดย ภาพรวมแตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ปัจจัยภายในองค์กร ด้านการเรียนการสอน ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับ คุณภาพชีวิตนักศึกษาด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม ปัจจัยภายในองค์กรด้าน สังคม ด้านอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อม มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต นักศึกษาด้านสังคม ปัจจัยภายนอกด้านสังคมและเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี มี ความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตนักศึกษาด้านกายภาพและสิ่งแวดล้อม และ ปัจจัยภายนอกด้านสังคมและเศรษฐกิจ มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต นักศึกษาด้านสังคมthaมหาวิทยาลัยมหิดลความปกติใหม่ไวรัสโคโรนา 2019นักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัดMahidol Quality Fairผลกระทบของความปกติใหม่ (New Normal) จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ที่มีต่อคุณภาพชีวิตนักศึกษาในหลักสูตรนานาชาติ คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดลProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล