Darunee PhukaoSuree KanjanawongNatthani MeemonChaiyun Sakulsriprasert2023-09-112023-09-11201620162023Thesis (Ph.D. (Medical and Health Social Sciences))--Mahidol University, 2016https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89780The objective of the current study was to develop and examine the structural relationship between early maladaptive schemas (EMSs) and alcohol use among college students, in which schema modes were identified as mediating factors. A total 973 participants of the current study were undergraduate students registered in the academic year 2014-2015 in Chiang Mai. Three research questionnaires were administrated, including Young Schema Questionnaire 3ed -Short Form, Schema Mode Inventory, and Alcohol Use Questionnaire. The results indicated that the modified hypothesized model of relationship among EMSs, schema modes, and alcohol use among college students fitted with the empirical data ( X2= 2185.313, df = 491, -- = 4.451, RMSEA = .060 (90% CI: .057 - .062), CFI =.900, and SRMR = .062). The EMSs and schema modes could explain the variance of alcohol use among college students at 12%. Disconnection and Rejection domain and Impaired Limits domain were positively associated with alcohol use; these relationships were fully mediated by the schema modes. The total effects on alcohol use were .132 and .221 respectively. Impaired Autonomy and Performance domain had a negative association with alcohol use, which was partially mediated by the schema modes (total effect = -.295: direct effect = -.252, and indirect effect = -.043). Exaggerated Standards domain was not significant associated with alcohol use. The findings suggested that the unique schema processes through which different EMSs may operate; therefore, interventions for reducing college drinking may take the concept of EMSs and schema modes into consideration. The theoretical and practical implications are also discussed.การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบแบบจำลองความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของ อิทธิพลของแบบแผนความคิดที่เกิดจากการปรับตัวไม่เหมาะสมจากวัยเยาว์ที่มีต่อการบริโภคเครื่องดื่มผสม แอลกอฮอล์ของนักศึกษา โดยมีสภาวะของแบบแผนความคิดเป็นตัวแปรส่งผ่าน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักศึกษาปริญญาตรีที่ศึกษาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่และได้ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2557 จำนวน 973 คนเครื่องมือวิจัยประกอบด้วยมาตรวัดจำนวน 3 ฉบับ ได้แก่ Young Schema Questionnaire 3ed -ฉบับสั้น, Schema Mode Inventory (SMI) และแบบวัดการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ ผลการศึกษาพบว่าแบบจำลองสมมุติฐานที่ปรับแก้แล้วของความสัมพันธ์ระหว่างแบบแผนความคิด สภาวะของแบบแผนความคิดและการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี ( X2= 2185.313, df = 491, --- = 4.451, RMSEA = .060 (90% CI: .057 - .062), CFI =.900, และ SRMR = .062) แบบแผนความคิดและสภาวะของแบบแผนความคิดร่วมกันทำนายการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ได้ร้อยละ 12.0 แบบแผนความคิดกลุ่มไม่สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์และถูกปฏิเสธ และ กลุ่มการขาดความยับยั้งมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ โดยมีสภาวะของแบบแผนความคิดเป็นตัวแปรส่งผ่านอย่างสมบูรณ์ ค่าอิทธิพลรวมเท่ากับ .132 และ .221 ตามลำดับ กลุ่มของแบบแผนความคิดด้านขาดอิสระและความสามารถในการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์ทางลบกับการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ โดยสภาวะของแบบแผนความคิดเป็นตัวแปรส่งผ่านมีเพียงบางส่วน (TE = -.295, DE = -.252, IE = -.043) ส่วนแบบแผนความคิดกลุ่มการตั้งมาตรฐานสูงเกินควรพบว่าไม่มีความสัมพันธ์กับการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการแบบแผนความคิดที่ต่างกันมีกระบวนการของแบบแผนความคิดที่แตกต่างกัน การออกแบบโปรแกรมการลดปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ในนักศึกษาอาจจะนำแนวคิดเรื่องของแบบแผนความคิดและสภาวะของแบบแผนมาคิดมาร่วมพิจารณาด้วย ทั้งนี้ผู้วิจัยได้อภิปรายถึงการนำการศึกษาไปใช้ทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติต่อไปxi, 196 leavesapplication/pdfengStress (Psychology)Interpersonal relations -- Psychological aspectsEarly maladaptive schemas, schema modes, and alcohol use among college students : the mediation analysisแบบแผนความคิดที่เกิดจากการปรับตัวไม่เหมาะสมจากวัยเยาว์ สภาวะของแบบแผนความคิดกับการบริโภคเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ในนักศึกษา : การวิเคราะห์ตัวแปรส่งผ่านMahidol University