จุฬาพร ประสังสิตกาญจนา รุ่งแสงจันทร์วรรณิภา อำนาจวิชญกุลปนัดดา เสือหรุ่นวาริดา จงธรรมละมัย โมราChulaporn PrasungsitKanchana RoongsangjanWannipa AmnatwichayakulWarida JongtanLamai Moraมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-05-212021-05-212564-05-202561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62235ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 3แผลกดทับเป็นปัญหาที่คุกคามคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย เกิดผลกระทบทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงค่าใช้จ่ายในระบบสุขภาพ เป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์ด้านความปลอดภัยที่แสดงถึงคุณภาพการดูแลผู้ป่วย และเป็นหนึ่งในSiriraj Patient Safety Goal ทีมพยาบาลออสโตมีและแผลได้พัฒนากระบวนการป้องกันแผลกดทับในโรงพยาบาล เริ่มจากการทำวิจัย พัฒนาชุด แนวปฏิบัติในการป้องกันแผลกดทับ (SSIET Bundle) แต่ผลลัพธ์ด้านแผลกดทับยังไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จึงได้วิเคราะห์และวางแผนดำเนินการโดยนำเครื่องมือ Siriraj Concurrent Trigger Tool (SiCTT) : Modify Early Warning Signs (MEWS) ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลพัฒนาขึ้น มาใช้ เป็นเครื่องมือดักจับปัญหาก่อนเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์โดยสร้างเป็นแนวปฏิบัติในการป้องกันแผลกดทับ “Siriraj Concurrent Trigger Tool by Modified Early Warning Sign for Pressure Injury Prevention” ภายหลังการดำเนินการ พบว่า ร้อยละความชุกของการเกิดแผลกดทับใหม่ในโรงพยาบาล ลดลงจากร้อยละ 7.67 ในปีพ.ศ. 2558 เป็น 6.51, 5.72 และ 5.53 ในปีพ.ศ. 2559-2561 ตามลำดับthaมหาวิทยาลัยมหิดลแผลกดทับSiriraj Concurrent Trigger ToolModified Early Warning SignsMahidol Quality FairSiriraj Concurrent Trigger Tool by Modified Early Warning Sign for Pressure Injury PreventionProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล