Shu Shu WaiSupa PengpidKarl Peltzerชู ชู เวย์สุภา เพ่งพิศคาร์ล เพลเซอร์Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development2021-05-122021-05-122021-05-122018Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.1 (๋Jan-Apr 2018), 1-151905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62140Reducing maternal and newborn mortalities is a global priority and the lives of mothers and newborns can be ensured by skillful care of skilled birth attendants (SBA) during and after childbirth. The impact of reducing child mortality and improving maternal health lead to improvement in global health development and reducing of poverty. Armed conflict areas have been affected by unequal distribution of maternal health services. Therefore, this study aimed to determine the prevalence and associated factors with delivery by a SBA in Kawkareik district, Kayin state, Myanmar. A community based cross-sectional study was conducted in a rural area among women aged 15-49 years, who had a child under the age of one year. The data collection was conducted from April to May 2016. Multi-stage sampling was used to interview 245 women with a questionnaire, including constructs of the Health Belief Model. Logistic regression was used to examine predictors of delivery with a SBA. Among 245 mothers, 54.7% had delivered with a SBA, 24.5% delivered with an auxiliary midwife and 20.8% delivered with a traditional birth attendant. The factors associated with delivering with a SBA were, low mother’s education (Adj OR=0.10, 95% CI=0.03-0.32), low perceived seriousness (Adj OR=0.42, 95% CI=0.18-0.94), high perceived barrier (Adj OR=0.40, 95% CI= 0.20-0.84) and high perceived benefit (Adj OR=3.30, 95% CI= 1.20-9.07). The SBA rate was low. Therefore, strategies are needed to focus on accessibility of services and developing effective innovative intervention strategies, especially in a conflict affected area, through promoting the benefit in delivering with a SBA and child health and alleviate the problems that were found as perceived seriousness and perceived barriers on delivery with skilled birth attendants.การลดอัตราการตายของมารดาและทารกเป็นเรื่องเร่งด่วนและสำคัญในระดับโลกซึ่งจะทำได้ด้วยการให้บริการคลอดและได้รับการดูแล จากผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะในระหว่างคลอดและหลังคลอด ผลกระทบของการลดอัตราการตายของทารกและส่งเสริมสุขภาพมารดาจะช่วยให้มีการพัฒนาสุขภาพะและลดภาวะความยากจนได้ในระดับโลก ในชุมชนชนบทที่มีความขัดแย้งทางการเมืองมีผลกระทบต่อการกระจายระบบบริการสุขภาพ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีเป้าหมายในการวัดอัตราความชุก และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับการคลอดโดยผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะช่วยคลอดในตำบลแก้วการิค รัฐคิน ประเทศพม่า การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบตัดขวางในชุมชนชนบทในกลุ่มประชากรที่เป็นมารดาที่มีอายุระหว่าง 15 ถึง 49 ปี ที่มีบุตรอายุต่ำกว่า 1 ปี เก็บข้อมูลในระหว่าง เดือนเมษายน ถึง เดือน พฤษภาคม 2559 การสุ่มตัวอย่างทำโดยการสุ่มแบบหลายชั้น โดยคำนวณได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 245 คน เก็บข้อมูลโดยใช้ การสัมภาษณ์ ตามแบบสอบถามที่ได้จัดทำขึ้นตามกรอบทฤษฏี ความเชื่อทางสุขภาพ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์แบบการถดถอยลอจิคติคพหุคูณ เพื่อทำนายปัจจัยในการมาคลอดกับผู้ทำคลอดที่มีทักษะช่วยคลอด พบว่าจากมารดา 245 คนมี ร้อยละ 54.7% ได้คลอดกับผู้ที่มีทักษะช่วยคลอด และ 24.5% คลอดกับผู้ช่วยผดุงครรภ์ 20.8% คลอดกับ หมอตำแย ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคลอดกับผู้มีทักษะช่วยคลอด ได้แก่ ระดับการศึกษาของมารดาในระดับต่ำ (Adj OR=0.42, 95%CI=0.03-0.32) การรับรู้ภาวะความรุนแรงในระดับต่ำ (Adj OR=0.42, 96%CI=0.18-0.94) การรับรู้ถึงอุปสรรคในระดับสูง (Adj OR=0.40, 95% CI=0.20-0.84) และการรับรู้ประโยชน์ของการคลอดกับผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะ ระดับสูง (Adj OR=3.30, 95% CI= 1.20-9.07) ผลการวิจัยพบว่ามารดาคลอดกับผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะมีจำนวนน้อย ดังนั้นจะต้องเพิ่มการเข้าถึงบริการทำคลอดอย่างปลอดภัยและพัฒนากระบวนการที่จะช่วยส่งเสริมให้มารดาเลือกรับบริการในการคลอดอย่างปลอดภัยกับสถานบริการทางสุขภาพในชุมชนบท โดยเฉพาะชุมชนที่ได้รับผลกระทบของความขัดแย้ง ควรทำโดยให้ข้อมูลให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจและรับรู้ถึงประโยชน์ในการคลอดกับผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะต่อภาวะสุขภาพของทารก และให้ข้อมูลให้รับรู้ถึงความรุนแรงของปัญหาที่อาจจะเกิด รวมทั้งให้เห็นว่ามีอุปสรรคน้อยในการไปรับการคลอดกับผู้ช่วยคลอดที่มีทักษะในการทำคลอดengMahidol Universityskilled birth attendantsconflict rural areaKayin StateMyanmarผู้มีทักษะในการช่วยทำคลอดชุมชนชนบทที่มีความขัดแย้งรัฐคินประเทศพม่าFactors associated with the delivery by skilled birth attendants among mothers of children under one year of age in a conflict affected rural area, Kawkareik District, Kayin State, Myanmarปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการคลอดโดยผู้มีทักษะในการช่วยทำคลอดของมารดาที่มีบุตรอายุน้อยกว่า 1 ปี ในชุมชนชนบทที่ได้รับผลกระทบจากภาวะความขัดแย้งของตำบลแก้วการิค รัฐคิน ประเทศพม่าOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development Mahidol UniversityRelief InternationalDepartment of Research and Innovation University of LimpopoHIV/AIDS/STIS and TB Human Sciences Research Council