วีรสิงห์ เมืองมั่นVerasing Muangmanมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาศัลยศาสตร์2022-10-102022-10-102565-10-102553รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 33, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2553), 42-460125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79854การรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยหรือการแพทย์ไทยเดิมหรืการแพทย์แผนโบราณ มีองค์ประกอบของการปรับสมดุลของธาตุ ซึ่งร่างกายประกอบด้วยธาตุทั้งสี่เมื่อเกิดขาดความสมดุล จะเกิดอาการธาตุหย่อน กำเริบ และพิการตามความรุนแรง การปรับสมดุลมุ่งหมายป้องกันไม่ให้เกิดโรค และหากเกิดก็รักษาให้ทุเลา ซึ่งการรักษาประกอบด้วย การกินอาหารตามธาตุ การฝึกจิต การออกกำลังกายแบบฤๅษีดัดตน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม การนวดตัว นวดน้ำมันการอบ ประคบ และการล้างพิษออกจากร่างกาย รวมทั้งทำการต่างๆให้คงสภาพสมดุลของกายไว้ให้ได้ มีการใช้ยาสมุนไพรเพื่อบำบัด ซึ่งสมุนไพรนั้น มีทั้งสมุนไพรเดี่ยวและเป็นตำรับ มุ่งที่ปรับธาตุให้สมดุล และมีรายละเอียดในการใช้ที่ต้องพิจารณารักษาไปตามกลุ่มอาการซึ่งในแง่ของขนาดของยา และวิธีใช้นั้นเป็นสิ่งสำคัญที่แพทย์ผู้ประกอบโรคศิลปะต้องค้นหาต่อไป รวมทั้งการเฝ้าระวังอาการแทรกซ้อน เช่น การใช้ความรู้ทางแพทย์แผนปัจจุบันในการตรวจเลือดเพื่อวิเคราะห์ค่าน้ำย่อยในตับ (SGOT, SGPT) เป็นต้นthaมหาวิทยาลัยมหิดลการแพทย์แผนไทยอาการวัยทองกลุ่มอาการวัยทอง และการรักษาโดยการแพทย์แผนไทยArticleภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล