เสาวภา พรสิริพงษ์อภิญญา บัวสรวงSaowapa PornsiripongseApinya Buasuangมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท2020-05-272020-05-272563-05-272551วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 27, ฉบับที่ 1 (ม.ค – มิ.ย. 2551), 61-74https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55747บทความนี้ได้แสดงให้เห็นถึงกระบวนการวัฒนธรรมชุมชนในการฟื้นฟูภูมิปัญญาการนวดของท้องถิ่นจนสามารถเข้าสู่ธุรกิจการนวดได้อย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี รวมทั้งต้องการแสดงให้เห็นว่ากระบวนการฟื้นฟูภูมิปัญญาการนวดของชุมชนได้เป็นการผลิตความรู้ภายใต้มาตรฐานตามประเพณีราชสำนักหรือวิธีคิดของการแพทย์แผนปัจจุบัน หรือเป็นการขยายขอบเขตการควบคุมของการแพทย์แผนปัจจุบันเหนือการแพทย์พื้นบ้านตามที่นักวิชาการหลังสมัยใหม่วิพากษ์ แต่เป็นการผสมผสานความรู้ท้องถิ่นกับความรู้ทางวิชาการเพื่อสร้างสิงที่ดีสำหรับชุมชน โดยมิได้สนใจว่าสิ่งที่ได้ปฏิบัติการนั้น เป็นการส่งเสริมความเข้มแข็งของการแพทย์แผนปัจจุบันหรือไม่ แต่เน้นปฏิบัติการที่ทุกฝ่ายได้ประโยชน์ (win-win situation) โดยได้ศึกษาหมู่บ้านแห่งหนึ่งในจังหวัดสุรินทร์ ที่ประชากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมร ที่สามารถนำภูมิปัญญาการนวดแบบพื้นบ้านไทย-เขมร มาพัฒนาและสร้างอาชีพใหม่กับชุมชนท้องถิ่นthaมหาวิทยาลัยมหิดลกระบวนการวัฒนธรรมชุมชนการฟื้นฟูภูมิปัญญาการนวดพื้นบ้านกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมรcommunity-cultural movementindigenous knowledge revitalizationfolk massage and Thai-Khmer ethnic groupวารสารภาษาและวัฒนธรรมJournal of Language and Cultureกระบวนการวัฒนธรรมชุมชนกับการพัฒนาภูมิปัญญาการนวดสู่ตลาดธุรกิจCommunity-Cultural Revitalization on Indigenous Massage Knowledge Towards Massage BusinessArticleสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล