เอื้องพร พิทักษ์สังข์ฉันทนา เคหะกรรณิการ์ คำเตียมพชิญา ศรอร่ามพัฒน์นรี สิทธิบุตรมณฑิชา กฤษบุญชูมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-172021-09-172564-09-172561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63578ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 246การส่งปรึกษาแพทย์เฉพาะสาขาอื่นเฉลี่ย 120 ราย/วัน ขั้นตอนเริ่มจากการประเมิน ติดต่อประสานงาน นำส่ง และการรับผู้ป่วยเข้าหน่วย พบขั้นตอนไม่มีความชัดเจน ไม่เป็นแนวทางเดียวกัน ทำให้การส่งผู้ป่วยจากหน่วยตรวจหนึ่งไปอีกหน่วยตรวจในผู้ป่วยเดินได้นานเฉลี่ย 2 ชั่วโมง ส่งผลให้การตรวจล่าช้า/ไม่ได้ตรวจภายในวันนั้น หรือส่งปรึกษาผิดแผนกท้ายสุดอาจเกิดภาวะวิกฤตขณะส่งปรึกษา ผลการจัดทำโครงการพัฒนาระบบส่งปรึกษาต่างแผนกใน16 หน่วยตรวจ รวมทั้ง หน่วยตรวจโรคอุบัติเหตุและหน่วยปฐมภูมิ ผลลัพธ์หลังดำเนินการส่งผลให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลผู้ป่วยให้การส่งปรึกษา/ส่งต่อผู้ป่วยตามหน่วยตรวจต่างๆได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวดเร็ว พบว่าอุบัติการณ์เกิดภาวะวิกฤตในระหว่างการส่งต่อเป็น0 ผู้ป่วยส่ง ปรึกษาได้รับการประเมินที่หน่วยปลายทางภายใน 1ชั่วโมง อัตราส่งต่อผู้ป่วยถูกต้อง/ถูกหน่วย อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติและอัตราความพึงพอใจของบุคลากรหลังดำเนินโครงการหลังดำเนินโครงการ คิดเป็นร้อยละ 84.6 96.7 90.1และ94 ตามลำดับthaมหาวิทยาลัยมหิดลส่งปรึกษาหน่วยตรวจคือหน่วยบริการตรวจแบบผู้ป่วยนอกความพึงพอใจการติดต่อประสานงานโครงการพัฒนาระบบส่งปรึกษาต่างแผนกในผู้ป่วยนอกProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล