อิทธิพล โพธิพันธุ์มหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยราชสุดา2017-03-102017-03-102560-03-102555วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. ปีที่ 8, ฉบับที่ 11 (ม.ค.-ธ.ค. 2555)1686-6959https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1353บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายเทคนิคการผลิตภาพเคลื่อนไหวผู้แสดงภาษามือ ที่สามารถช่วยให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพโดยการควบคุมปัจจัยหลักต่างๆ ในขั้นตอนการถ่ายภาพเคลื่อนไหว เพื่อไม่ให้เกิดเงาจากมือของผู้แสดงภาษามือที่ตกลงบนลำตัวของผู้แสดงภาษามือ และการแสดงรายละเอียดต่างๆ ในกรอบภาพที่แย่งความโดดเด่นไปจากมือของผู้แสดงภาษามือซึ่งจะทำให้ได้ภาพภาษามือที่ไม่ชัดเจนปัจจัยดังกล่าว ได้แก่ การกำหนดขนาดภาพ การจัดแสง การเลือกฉาก การกำหนดระยะห่างระหว่างผู้แสดงภาษามือกับฉาก การเลือกใช้เลนส์ และการเลือกเครื่องแต่งกายของผู้แสดงภาษามือThis article aims to explain the motion pictures techniques of sign language interpreter which can effectively help the communication. The main factors are controlled in the process of taking motion pictures so that hand shadows to will not appear on the interpreters' bodies. The details are shown in the picture frames which are more distinguished than the hands of interpreters. To say, the sign language is not so clear. These factors are the image size, the lighting, the scene selecting, the space between the interpreters and scenes, lens using, and the costumes of the sign language interpreters.thaมหาวิทยาลัยมหิดลเทคนิคการผลิตภาพเคลื่อนไหวผู้แสดงภาษามือAnimation Production TechniquesSign Language PresenterOpen Access articleวารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการJournal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilitiesเทคนิคการผลิตภาพเคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ของคนพิการทางการได้ยินโดยใช้ผู้แสดงภาษามือResearch Articleวิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล