Arisara LeksansernPatreeya KitcharoenPoschanan NiramitchainontNattakarn Somhom2024-01-112024-01-11201720172024Thesis (M.Ed. (Educational Management))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92464Educational Management (Mahidol University 2017)The purposes of this research were to study the relationship among selected actors and student motivation in the learning of English as well as factors affecting motivation in the learning of English by students in schools under Ratchaburi Primary Educational Service Area Office II in order to develop a curriculum and instruction model of English for schools in Thailand as well as build motivation in the learning of English basic lessons. This was a quantitative research that collected data through a survey of 373 students from primary schools in. The data were analyzed using descriptive statistics, Pearson's product moment correlation coefficient, and Multiple Regression Analysis. The research findings indicated that learner factors, school factors, and parental factors, affected motivation in learning English at moderate and high levels and that learner factors and school factors were significantly predictive while parental factors were predictive but not statistically significant. For the study of motivation in English learning, the research findings indicated that intrinsic motivation was at moderate level whereas extrinsic motivation was at a high level. Based on these findings, this research provides useful information on the effective English learning by students and promotes motivation in the learning of English that could be beneficial to students, teachers, schools, and parents.การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผู้เรียน ปัจจัยด้านโรงเรียน และ ปัจจัยด้านผู้ปกครองกับแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 เพื่อนำมาพัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษให้กับโรงเรียนใน ประเทศไทย และสร้างแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษในขั้นพื้นฐานงานวิจัยนี้เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ มีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล โดยใช้กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 และ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จำนวน 373 คน ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อค้นพบจากงานวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยค่าเฉลี่ยของปัจจัยทั้ง 3 ด้าน คือ ปัจจัยด้านผู้เรียน ปัจจัยด้านโรงเรียน และปัจจัยด้านผู้ปกครองอยู่ในระดับกลางและสูง สำหรับข้อมูลสถิติปัจจัยด้านผู้เรียนและปัจจัยด้านโรงเรียนทำนายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ปัจจัยด้านผู้ปกครองทำนายได้ แต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับการศึกษาแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ พบว่า แรงจูงใจภายนอกอยู่ในระดับสูง ในขณะที่แรงจูงใจภายในอยู่ในระดับปานกลาง ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ นักเรียน ครู โรงเรียน และผู้ปกครอง สามารถนำข้อมูลไปใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนภาษาอังกฤษให้กับนักเรียนได้อย่างเหมาะสมx, 89 leaves.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าMotivation (Psychology)Motivation in educationEnglish language -- Study and teaching -- Foreign speakersFactors affecting motivation in english learning of students in schools under Ratchaburi primary educational service area office IIปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2Master ThesisMahidol University