Anak CharanyanandaNarongchai PidokrajtTreetip BoonyamPansak PolsaramNicha Chansitthichok2024-01-102024-01-10201920192024Thesis (Ph.D. (Music))--Mahidol University, 2019https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92238Music (Mahidol University 2019)The music teacher training project supported by the government operates annually with restricted training contents, and shallow understanding of characteristics of music content leading to a limitation in music teacher development. This research aims to (1) explore the current status and structure of music teacher training, (2) construct a model of music teacher training for lifelong learning skills, and (3) develop the trainer's manual of music teacher training as a path to lifelong learning skills. This qualitative research collected data by interviewing 40 samples including music teachers, music trainers and music educators who were involved in music teacher training in 2017-2018, and observing music teacher training exercises. The result of this research found similarity in the type of training courses which mostly are set as a single training course with no continuity to higher level training. The observation and interview data were analyzed for creating the music teacher training model. The model consists of three parts (1) input information: training type, participants, course output, course content, and assessment (2) designing training process: the activities and details in training process, and (3) output: developing lifelong learning competenciesโครงการฝึกอบรมครูสอนดนตรีที่รัฐบาลให้การสนับสนุนดำเนินการทุกปีมีกรอบมาตรฐานการจัดอบรมที่ยังไม่ครอบคลุมต่อเนื้อหาวิชาดนตรีอย่างครบถ้วนทำให้เกิดข้อจำกัด ในการพัฒนาครูดนตรี ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาวิจัยนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบของการอบรมครูดนตรีในประเทศไทย 2) สร้างโมเดลการอบรมครูดนตรีเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3) พัฒนาคู่มือสำหรับผู้จัดอบรมครูดนตรีเพื่อทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ทาการเก็บข้อมูลด้วยการสังเกตการณ์การอบรม ครูดนตรี และสัมภาษณ์ ครูดนตรี นักดนตรีศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดอบรมครูดนตรี ในระหว่างปี พ.ศ.2560−2561 จำนวนทั้งหมด 40 ท่าน ผลจำกการวิจัยพบว่า การอบรมครูดนตรีที่จัดขึ้นส่วนใหญ่เป็นการอบรมแบบครั้งเดียว ไม่มีการอบรมแบบต่อเนื่อง และไม่มีการแบ่งระดับความยาก−ง่าย จากการสังเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำเสนอเป็นโมเดลสำหรับผู้จัดอบรมครูดนตรีเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ (1) ข้อมูลนำเข้า: ประเภทการอบรม ผู้เข้าอบรม ผลลัพธ์ เนื้อหา และการประเมินผล (2) การออกแบบกระบวนการจัดอบรม: กิจกรรมที่ใช้อบรม (3) ผลลัพธ์: การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต งานวิจัยนี้จะส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพครูดนตรีของไทยให้บรรลุเป้าหมายตามกรอบมาตรฐานการอบรมของรัฐบาลอย่างมีทิศทางxi, 158 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าMusic -- Instruction and study -- ThailandMusic teachers -- Training of -- ThailandThe music teacher training model for program trainers to develop lifelong learning competenciesโมเดลสำหรับผู้จัดอบรมครูดนตรีเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตDoctoral ThesisMahidol University