ภิญโญ อุทธิยานิชธิมา เสรีวิชยสวัสดิ์สุวรรณี สิริเลิศตระกูลนพกาญจน์ วรรณกิจโสภณPinyo UtthiyaNitchatima SereewichayasawadSuwannee SirilerttrakulNoppakan Wannakansophonมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2019-12-112019-12-112562-12-112562รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 25, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2562), 119-1290858-9739 (Print)2672-9784 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48359โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก เนื่องจากความรุนแรงรวมถึงปัญหา ภาระ เรื่องโรค ก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัวจึงจำเป็นต้องมีการ พัฒนา การดูแลรักษาให้ครอบคลุมและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบัน การรักษา ด้วยยาเคมีบำบัดเป็นหนึ่งในการรักษาหลักที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งจำนวนมากในปัจจุบัน แต่จากปัญหาผู้ป่วยที่มากขึ้น และจำนวนเตียงนอนในโรงพยาบาลที่มีจำกัด โรงพยาบาลรามาธิบดี จึงได้มีโครงการบริหารยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำส่วนกลางที่บ้าน ที่เรียกว่า รามาโมเดล ด้วยความร่วมมือของสหสาขาวิชาชีพ และพยาบาลหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านเป็นบุคลากร สำคัญในทีมมีบทบาทดังนี้ 1) วางแผนจำหน่ายผู้ป่วยก่อนออกจากโรงพยาบาล 2) การติดตาม เยี่ยมบ้าน 3) การติดตามทางโทรศัพท์ และ 4) การส่งต่อศูนย์บริการสาธารณสุข การให้บริการ พยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดดำที่บ้าน เป็นบทบาทใหม่ที่มีความ สำคัญและเป็นความท้าทายของพยาบาลหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน ที่ส่งผลต่อคุณภาพ การดูแลรักษา ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัดตรงตามแผนการรักษา ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง เพิ่มคุณภาพชีวิต อีกทั้งสามารถตอบสนองนโยบายทั้งระดับโรงพยาบาลและระดับประเทศในการ ลดจำนวนการครองเตียงCancer is a public health issue in global level due to its severity and burden from the disease which impacts the quality of life of patients and family. Therefore, it is necessary to develop a treatment to cover and keep up with the changes in today’s society. Chemotherapy is one of the main treatments for a number of cancer patients nowadays. Since the number of patients outweighs the number of beds in the hospital, Ramathibodi Hospital has established the Rama Care Model with cooperation from multidisciplinary and home health care nurses who play significant roles as follows: 1) discharge planning for patients before leaving the hospital, 2) follow up by home visit, 3) follow up by telephone calling, and 4) transfer to public health centers. Nursing care of the patients receiving home chemotherapy from the central venous catheter at home is a new role, which is important and challenging for home health care nurses. This care model increases the treatment quality by helping patients to receive chemotherapy as planned. Patients will receive continuing care, which results in improving their quality of life. In addition, this model can respond to the policy both in hospital and national levels to reduce the bed occupancy rate.thaมหาวิทยาลัยมหิดลการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำส่วนกลางที่บ้านรามาโมเดลพยาบาลหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านHome chemotherapyRama Care ModelHome health care nursesบทบาทของพยาบาลหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัดทางสายสวนหลอดเลือดดำส่วนกลางที่บ้านRoles of Home Health Care Nurses in Caring for Patients Receiving Chemotherapy via Central Venous Catheter at HomeArticleคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล