วชรสร เพ่งพิศชุติมา ปฐมกำเนิดวรรณเฉลิม ชาววังประไพพร เตียเจริญฐิติพร แก้วรุณคำเกศินี บูชาชาติน้ำฝน เอกสนธิอรสา เอมโกษาจุฑามาศ ประเสริฐศรีอมร เหล็กกล้าเนตรฟ้า รักมณีธีระวัฒน์ แซ่ซือปณิธี มาเอี่ยมโสมประภา พยัคฆพันธ์นพดล ตั้งภักดีสันติ มณีวัชระรังษีธีระ กุศลสุขพรพรรณ ภูมิรัตน์สุรพล ยิ้มสำราญมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน2021-09-102021-09-102564-09-102561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63474ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 228-229คณะทำงานการประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากร ดำเนินการภายใต้นโยบายของคณะเวชศาสตร์เขตร้อน เกี่ยวกับความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในสถานที่ทำงาน ได้ริเริ่มทำการ ประเมินความเสี่ยงทางการยศาสตร์แก่บุคลากรขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้ แบบทดสอบมาตรฐานสากลเป็นเครื่องมือประเมิน เริ่มจากการใช้แบบ ตรวจวัดดัชนีความผิดปกติ (Abnormal Index หรือ AI) ตรวจคัดกรอง บุคลากรจำนวน 517 จากทั้งหมด 811 คน (ร้อยละ 63.7) พบว่า ส่วนใหญ่มี ปัญหาเล็กน้อยพอทนได้ ร้อยละ 48.4 (250 คน) และมีเพียงร้อยละ 2.7 (14 คน) เท่านั้นที่ไม่มีปัญหาอะไรเลย, บุคลากรร้อยละ 38.1 (197 คน) อยู่ใน เกณฑ์ต้องระมัดระวังเอาใจใส่ และร้อยละ 10.4 (จ านวน 54 คน) อยู่ในกลุ่มที่ มีปัญหาจนทนไม่ได้ กับอีกร้อยละ 0.4 (จ านวน 2 คน) ที่มีปัญหาต้องแก้ไข โดยด่วน ดังนั้น คณะทำงานฯ จึงจัดการบรรยายพิเศษเพื่อเพิ่มพูนความรู้ให้ บุคลากรตระหนักถึงความสำคัญด้านการยศาสตร์ขึ้น 1 ครั้ง ต่อจากนั้นได้ เชิญผู้ที่พบว่ามีปัญหาจากการประเมินดัชนีความผิดปกติ รวม 56 คน เข้าร่วม โครงการประเมินโดยวิธีทางการยศาสตร์ที่แม่นยำขึ้นได้แก่ ROSA, RULA และ REBA เพื่อจะได้ทราบที่มาของปัญหาหรืออาการผิดปกติจากการทำงานนั้น จะเกี่ยวข้องกับท่านั่งในการปฏิบัติงาน สถานีงาน (Work station) สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ทราบถึงสาเหตุและหาวิธีแก้ไข ปรับปรุงต่อไป ในการนี้ได้ส่งแบบฟอร์มแสดงความจำนงในการร่วมโครงการ ทางอีเมล มีผู้ต้องการเข้าร่วมโครงการในส่วนนี้เพียง 3 คนจาก 56 คน (ร้อย ละ 5.4) แต่อย่างไรก็ตาม มีหลักฐานยืนยันว่า มีบุคลากรของคณะฯ ป่วยมี อาการ Office Syndrome อยู่เป็นจำนวนมากพอสมควร คณะทำงานฯ จึง ผลิตสื่อวิดิทัศน์ส่งเสริมการออกกำลังกายป้องกัน Office Syndrome ออก เผยแพร่ในคณะเวชศาสตร์เขตร้อนthaมหาวิทยาลัยมหิดลการยศาสตร์Office Syndromeอาชีวอนามัยสื่อวิดิทัศน์การประเมินความเสี่ยงด้านการยศาสตร์ของบุคลากร คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดลErgonomic Risk Assessment among FTM personnelProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล