เบญจวรรณ เสวตรพยัคฆ์นัทธมน พันธุ์วิหกอามิตรา ปาปะโนขนิษฐดา ศรีจันทร์Benjawan SawetpayakNuttamon PhunvihukArmitra PapanoKhanitthada Srichan2023-11-302023-11-302566-11-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/91256ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 183หอผู้ป่วยให้การดูแลผู้ป่วยกลุ่มโรคศัลยศาสตร์ หลังผ่าตัดผู้ป่วยจะ ได้รับการคาสายสวนปัสสาวะ เพื่อประเมินการไหลเวียนของเลือด มีการแขวน ถุงปัสสาวะไว้ที่ข้างเตียง แต่แนวปฏิบัติในการป้องกัน Fall จำเป็นต้องปรับ เตียงต่ำสุด ทำให้ส่วนล่างของถุงปัสสาวะสัมผัสพื้น มีโอกาสให้เกิดการติดเชื้อ ในระบบทางเดินปัสสาวะได้ ร่วมกับเมื่อผู้ป่วยออกมา Ambulate นอกห้อง แล้วไม่มีอุปกรณ์สำหรับแขวนถุงปัสสาวะที่จุดนั่งพัก ทำให้ผู้ป่วยมักวางถุง ปัสสาวะไว้บนพื้นโดยไม่มีอุปกรณ์รองรับ จากปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ Safety Urine bag เพื่อป้องกันไม่ให้ถุงปัสสาวะสัมผัสพื้น และเพื่อความ สะดวกปลอดภัยเมื่อผู้ป่วยออกมา Ambulate นอกห้อง เนื่องจาก Safety Urine bag มีหูหิ้วและฐานรองรับด้านล่างของถุงที่แข็งแรงพอ ผู้ป่วยสามารถ วางถุงตั้งบนพื้นได้โดยถุงไม่ล้ม และยังช่วยป้องกันถุงปัสสาวะแตกหรือรั่วจาก การกระทบกระทั่งอุปกรณ์หรือของใช้ต่าง ๆ นอกจากนี้ Safety Urine bag ยังช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจเนื่องจากถุงมีสีทึบ สามารถปิดบังปัสสาวะที่ ผู้ป่วยมักไม่ต้องการให้ผู้อื่นมองเห็นapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าSafetyUrine bagUrinary tract infectionMahidol Quality FairSafety urine bagProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล