ปรารถนา สถิตย์วิภาวีจรวยพร สุภาพณัฐจาพร พิชัยณรงค์พจนา หันจางสิทธิ์Pratana SatitvipaweeNatchaporn PichainarongPojjana Hunchangsithมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ.มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว.มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา.2012-12-212020-09-292012-12-212020-09-292545https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/58800วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิผลของกระเทียมสกัดชนิดเม็ดต่อระดับไขมันใน ผู้มีโคเลสเตอรอลสูง รูปแบบการวิจัย : เป็นการทดลองทางคลินิกแบบ Randomized, double-blind, Placebo-controlled ตัวอย่างและวิธืการ : อาสาสมัครที่มีระดับโคเลสเตอรอลรวมเท่ากับหรือมากกว่า 200 มก./ดล. จำนวน 136 คน (ชาย 48 คน, หญิง 88 คน) อายุเฉลี่ย 47 ± 6.6 ปี ได้รับ กระเทียมเม็ดที่มรสารออกฤทธิ์ อัลลิซินมาตราฐาน 1.5% (5,000 ไมโครกรัม/เม็ด) หรือยาหลอก ในขนาดวันละ 1 เม็ด หลังอาหารเย็นหรือก่อนนอนเป็นเวลา 12 สัปดาห์ อาสาสมัครที่เข้าร่วม โครงการได้รับคำแนะนำไม่ให้เปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย ตลอดสิ้นสุดโครงการ ผลการศึกษา : ระดับโคเลสเตอรอลรวม ไตรกลีเซอไรด์ แอล ดี แอล-โคเลสเตอรอล เอช ดี แอล-โคเลสเตอรอล ความดันโลหิตและกลูโคสในเลือดของกลุ่มอาสาสมัครที่ได้รับกระเทียมเทียมเม็ดเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ไม่แตกต่างจากกลุ่มอาสาสมัครท่ได้รับยาหลอกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และไม่มีความแตกต่างของหน้าที่การทำงานของตับและไตในกลุ่มศึกษา สรุป : กระเทียมเม็ดที่สารอัลลิซินมาตราฐาน 1.5% (5,000 ไมโครกรัม/เม็ด) ไม่มีผลต่อระดับไขมันในเลือดในอาสาสมัครที่มีระดับไขมันในเลือดสูง เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมObjective : To assess the effects of garlic extract tablets on serum lipids level in hypercholesterolemic persons Study Design : Randomized, double-blibd, placebo-controlled trial. Subjects and Methods : One hundred and thirty-six hypercholesterolemic persons (48 men, 88 women) with mean age of ± 6.6 years and a serum total cholesterol level of greater than or equal to 200 mg/dl were randomized to receive either a garlic extract tablet (standardized to 1.% allicin (5,000 µg/tablet) once a day or placebo for 12 weeks. Diet and physical activity were advised to be unmodified during the study period for both groups. Results : There were no statistically significant changes in serum total cholesterol, triglyceride, low density lipoprotein cholesterol, high density lipoprotein cholesterol, blood pressure and blood glucose after 12 weeks of standardized garlic treatment. Also there were no statistically significant changes in Liver and kidney functions. Conclusion : Treatment with standardized garlic did not produce significant changes in lipids level than placebo in volunteers with hypercholesterolemia32 mbapplication/pdfthaมหาวิทยาลัยมหิดลGarlic researchHypercholesterolemia researchกระเทียมเภสัชฤทธิวิทยาไขมันโคเลสเตอรอลสูงในเลือดสารต้านความดันเลือดสูงอาหารเสริมผลของกระเทียมสกัดชนิดเม็ดต่อระดับไขมันในผู้มีโคเลสเตอรอลสูงThe effect of garlic extract tablet on serum lipid profiles in hypercholesterolemic personsResearch Reportมหาวิทยาลัยมหิดล