อัญชลี กันธิยะAnchalee Kantiyaมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล2022-09-302022-09-302565-09-302564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79785ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 142ห้องผ่าตัดจักษุให้บริการผ่าตัดผู้ป่วยทางจักษุในทุกกลุ่มโรคทั้งใน ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน กลุ่มโรคที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาสูงสุด คือกลุ่มโรค ต้อกระจก ในขั้นตอนการผ่าตัดต้อกระจกต้องใช้สารน้ำ(Irrigation solution) มีคุณสมบัติเฉพาะใกล้เคียงกับน้ำในลูกตาของมนุษย์ เพื่อคงสภาพของช่อง หน้าม่านตาขณะทำผ่าตัดเติมน้ำสำหรับฉีดเข้าช่องหน้าม่านตาเตรียมโดยการ รองน้ำใส่ถ้วยและดูดน้ำในถ้วยน้ำผ่าน Filter จากข้อมูลปี 2560-2562 พบ ปัญหา ผู้ป่วยหลังผ่าตัดต้อกระจกมีสิ่งแปลกปลอม คือ เส้นใยผ้าตกค้างในช่อง หน้าม่านตา 2 ราย ต้องมาผ่าตัดซ้ำเพื่อนำสิ่งแปลกปลอมออก และที่ไม่ สามารถนำออกได้อีก 1 ราย ต้องมีการติดตามอาการอักเสบและติดเชื้ออย่าง ต่อเนื่อง นอกจากนี้ขั้นตอนการดูดน้ำผ่าน Filter ช้า ใช้เวลา > 25 วินาที/ครั้ง ต้นทุนของ Filter ราคา 207 บาท/ชิ้น จึงมีการนำเอา BSS 15 ml. (solution in sterile peel pack.) มาใช้แทน ซึ่งสะดวกต่อการใช้งานและ ต้นทุนลดลง 53 บาท/ราย แต่มักเกิดปัญหานำเข้าจากผู้ผลิต จึงมีการปรับวิธีการมาเป็น การใช้ syringe 20 ml. ต่อกับ three-ways ดูดน้ำเก็บจากเครื่องผ่าตัดต้อ กระจกโดยตรง พบว่าสามารถลดการปนเปื้อนเส้นใยผ้าในสารน้ำ ลด ระยะเวลาการเตรียม และลดต้นทุนเหลือ 21 บาท/ราย แต่พบปัญหาคือมีสาร น้ำเหลือทิ้งหลังจากการผ่าตัด จึงมีการปรับให้มีการใช้ syringe 10 ml. แทน พบว่าราคาต้นทุนเหลือ 19 บาท/ราย และไม่มีสารน้ำเหลือทิ้งหลังจากการ ผ่าตัดthaมหาวิทยาลัยมหิดลผ่าตัดต้อกระจกสารน้ำเส้นใยในตาMahidol Quality Fairไม่เหลื่อเยื่อใยProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล