ปิยนันท์ เทพรักษ์สุภาพร สงวนธำมรงค์นลินนาฏ ธนบุญสุทธิพิมฐ์สุภาชินี ธนะวงศ์จตุพร โยธายุวรัตน์ ม่วงเงินมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-102021-09-102564-09-102561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63478ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 231American Diabetes Association (ADA) และ International Diabetes Federation (IDF) แนะนำว่าผู้ป่วยเบาหวานทุกคนควรได้รับ ความรู้และมีทักษะจัดการตนเองที่เรียกว่า Diabetes self-management Education & support (DSME & S) ทีมพยาบาลหน่วยพยาบาลด้านป้องกัน โรคและส่งเสริมสุขภาพพัฒนากระบวนการให้บริการตามหลักการ DSME & S วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เป็นเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง (DSME&S) นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างเหมาะสมและมี ระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด (HbA1C) ลดลงจากเดิมต่อเนื่องสู่เกณฑ์ที่ ควบคุมได้ ผลดำเนินการมีผู้เข้าร่วมโปรแกรมจำนวน 78 คน พบว่าภายหลัง เข้าร่วมโปรแกรม อัตราผู้เป็นเบาหวานสามารถลดระดับ HbA1c ≥ 0.5% จากเดิมถึงร้อยละ 85.71 ค่าเฉลี่ยระดับ HbA1C ที่ลดลงเท่ากับ 2.97% ได้รับ การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์รวมถึงสามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเสี่ยงได้ กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นได้แก่ รูปแบบการให้ความรู้โดย มีการสื่อสารแบบ2ทาง เสริมพลังอำนาจ ให้ผู้ป่วยเห็นคุณค่าในตนเองนำไปสู่ การพัฒนาทักษะในการจัดการตนเองได้ พยาบาลกับผู้เป็นเบาหวานต้อง ร่วมกันกำหนดเป้าหมายให้ชัดเจนและเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับแต่ละ บุคคลthaมหาวิทยาลัยมหิดลเบาหวานให้ความรู้จัดการตนเองการพัฒนาโปรแกรมการให้ความรู้และเสริมพลังเพื่อเพิ่มทักษะการจัดการตนเองในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล