Vanida PrasertFarsai Chanjarupornวนิดา ประเสริฐฟ้าใส จันท์จารุภรณ์Mahidol University. Faculty of Pharmacy. Department of Pharmacy2021-05-202021-05-202021-05-202015Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.1 (๋Jan-Apr 2015), 55-671905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62233Tambon Health Promoting Hospitals (THPHs) are the first level of public health service system. Before the health service system reform, the THPHs confronted inefficient drug management. Presently, drug management in THPHs develops and expands responsibility to conform health system reformation in Thailand. This study aimed to systematically review the drug management in THPHs to know the current situation of drug management including the efficiency of drug management and patient satisfaction after the reform of the health service system. A literature search was conducted in the ThaiLIS and the Health Systems Research Institute databases during 2004 to 2015. Results revealed the sixteen articles which met the inclusion criteria. The six dimensions of drug management tasks in THPHs which were used as the criteria consist of drug system management, medical supply management, inventory management, pharmaceutical care, home care pharmacy services and rational drug use promotion. It was found that most THPHs performed efficiently for drug management thus patients satisfied for their services. Moreover, some THPHs performed inefficiently on medical supply and inventory management. The problems and obstacles also revealed inadequacy of the staff and budget. Therefore, government should focus on proper resource allocation and provide crucial supports to enhance efficiency and quality of treatment to the patientsโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) เป็นด่านแรกของการให้บริการด้านสุขภาพ ก่อนการปฏิรูประบบบริการสุขภาพ พบว่า รพ.สต.ประสบกับปัญหาการบริหารจัดการด้านยาที่ไม่มีประสิทธิภาพ ในปัจจุบัน การจัดการด้านยาใน รพสต. ได้พัฒนาและขยายบทบาทมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบสุขภาพในประเทศไทย การศึกษาการบริหารจัดการด้านยาของรพ.สต. นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบสถานการณ์ปัจจุบันของการจัดการด้านยา ครอบคลุม ประสิทธิภาพการจัดการด้านยาและความพึงพอใจของผู้ป่วย จากการปฏิรูประบบบริการสุขภาพโดยการทบทวนอย่างเป็นระบบจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักวิทยบริการเเละเทคโนโลยีสารสนเทศ (ThaiLIS), สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และแหล่งข้อมูลอื่นๆ ในช่วงปี พ.ศ. 2547 ถึง 2558 พบว่ามี 16 งานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือก โดยใช้เกณฑ์การคัดเลือกเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านยาใน 6 มิติ คือ การจัดการระบบยา, การบริหารเวชภัณฑ์, การจัดการคลังยา, การบริการด้านเภสัชกรรม, การดูแลผู้ป่วยด้านยาต่อเนื่องที่บ้านและการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ผลการศึกษา พบว่า รพ.สต.ส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพในการจัดการด้านยา ยังผลให้ผู้ป่วยเกิดความพึงพอใจ ในขณะที่ยังมีบาง รพ.สต. ที่ยังมีปัญหาในเรื่องของการบริหารเวชภัณฑ์และการจัดการคลังยา ปัญหาที่สำคัญ คือ การขาดแคลนเจ้าหน้าที่และงบประมาณในการบริหารจัดการด้านยาที่ไม่เพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลควรพิจารณากระจายกำลังคนให้เหมาะสมและให้การสนับสนุนในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของการรักษาให้กับผู้ป่วยengMahidol UniversityTambon Health Promoting Hospitalsdrug managementsystematic reviewโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลการบริหารจัดการด้านยาการทบทวนอย่างเป็นระบบDrug management in Tambon health promoting hospitals: a systematic reviewการบริหารจัดการด้านยาในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลReview ArticleDepartment of Pharmacy Faculty of Pharmacy Mahidol University