อรพรรณ ไชยมหามหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล2021-09-172021-09-172564-09-172561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63572ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 238หน่วยตรวจพิเศษทางรังสี ตึก72ปี ชั้น2 ฝั่งตะวันออก(Angiogram) มีการให้บริการผู้ป่วยที่มาทำหัตถการทางรังสีวิทยาหลอดเลือดและรังสีร่วม รักษาเช่นการทำเส้นเพื่อใช้ฟอกเลือด (Permanent dialysis chateter/Double lumen catheter)การทำสายให้สารอาหารทางหลอด เลือด(Picc line) การถ่างขยายเส้นเลือดเพื่อใช้ล้างไต (Venogram /Venoplasty) เป็นต้น ผู้ป่วยที่มาทำหัตถการเหล่านี้ประมาน 20-25 ราย/ เดือน หรือประมาน 250-300 ราย ต่อปี บริเวณที่ทำหัตถการได้แก่ แขน ต้น แขน และลำคอ ขณะทำหัตถการชนิดนี้จะมีการคลุมผ้าสะอาดบนตัวและ ศีรษะของผู้ป่วย เปิดเฉพาะส่วนที่ทำหัตถการ โดยใช้เวลาประมาน1-3 ชั่วโมง ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยต้องทำหัตถการนานมากกว่า 1 ชั่วโมง เมื่อถูกคลุมผ้าจะ บ่นเรื่องหายใจไม่สะดวก ไม่สุขสบาย อึดอัด นอกจากนี้การคลุมผ้าสะอาด ดังกล่าวยังอาจทำให้ผู้ป่วยไม่ปลอดภัยเนื่องจากไม่สะดวกในการสังเกตุ อาการ/ ให้การพยาบาล เช่น การพูดคุยซักถามอาการ การให้ออกซิเจน เป็น ต้น จึงได้ประดิษฐ์ช่องอากาศช่วยหายใจขึ้นthaมหาวิทยาลัยมหิดลnursing careprocedureการทำหัตถการการให้ออกซิเจนโครงการช่องอากาศช่วยหายใจProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล