ขนบพร วงศ์กาฬสินธุ์ธีรพงษ์ บุญรักษาสิรินทร พิบูลภานุวัธน์เขมณัฏฐ์ อริยชยานันต์2024-01-162024-01-16255825672558วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2558https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92860ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการสื่อสารและการพัฒนา (มหาวิทยาลัยมหิดล 2558)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรของพี่เลี้ยง คุณลักษณะพฤติกรรมเชิงรุกของพนักงานใหม่และการปรับตัวในการทำงานของพนักงานใหม่รวมทั้งศึกษาอิทธิพลของวิธีการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรของพี่เลี้ยงและคุณลักษณะพฤติกรรมเชิงรุกของพนักงานใหม่ที่มีต่อการปรับตัวในการทำงาน ประชากรคือพนักงานใหม่ในองค์กรเทคโนโลยีสารสนเทศเขตวัฒนาและยานนาวาจำนวน 150 คนโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สันและสถิติถดถอยพหุคูณ(Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า วิธีการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรของพี่เลี้ยง คุณลักษณะพฤติกรรม เชิงรุกของพนักงานใหม่และการปรับตัวในการทำงานโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงทั้งหมด วิธีการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรของพี่เลี้ยงโดยผ่านบทบาทการให้สนับสนุนทางจิตใจและคุณลักษณะพฤติกรรมเชิงรุกของพนักงานใหม่ในการสร้างความสัมพันธ์กับสมาชิกในองค์กรมีอิทธิพลต่อการปรับตัวในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05The objectives of this research were to study organizational socialization methods of mentoring system, newcomers proactive behaviors, and newcomer's work adjustment and to study organizational socialization methods of mentoring system and newcomers proactive behaviors that affected to newcomer's work adjustment. The population consisted of 150 information technology organization's newcomers in Wattana and Yannawa District. Data were collected by using questionnaire. This study is a quantitative research. The statistical methods used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's Product Moment Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis. The result of the study revealed that organizational socialization methods of mentoring system, newcomers proactive behaviors, and work adjustment were at a high level. Organizational socialization methods of mentoring system in psychosocial functions and newcomers proactive behaviors of relationship building with organizational members were affected by work adjustment with statistical significance at the p-value of 0.05.ก-ฎ, 201 แผ่น : ภาพประกอบapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าวัฒนธรรมองค์การพฤติกรรมองค์การการปรับตัว (จิตวิทยา)วิธีการถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์กรของพี่เลี้ยงและคุณลักษณะพฤติกรรมเชิงรุกของพนักงานใหม่ที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวในการทำงานOrganizational socialization methods of mentering system and proactive behaviors newcomers as the affecting work adjusmentMaster Thesisมหาวิทยาลัยมหิดล