Orasa PanpakdeeManee ArpanantikulTeeradej Chai-aroonLadda Saleema2023-09-082023-09-08201420142023Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2014https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89551Individuals suffering from uncontrolled hypertension have a high risk for heart diseases, stroke, and renal diseases. Self-care behavior is an important process for hypertension control. This study aimed to explore the patterns of relationship among basic conditioning factors, self-care agencies, and self-care behaviors regarding hypertension control. The Self-Care Deficit Nursing Theory (SCDNT) was used as a conceptual framework in this study. The sample consisted of a total of 402 persons with hypertension from three regional hospitals in the central part of Thailand. The Demographic and Health Information questionnaire, the Chronic Illness Resources Survey questionnaire, the Revised Illness Perceptions questionnaire, the Knowledge of Self-Care Demands questionnaire, and the Self-Care Behavior questionnaire were used for data collection. The data were analyzed using Structural Equation Modeling. The results showed that the modified hypothesized model of self-care behaviors for hypertension controls were suitable to be used with the empirical data. The model was able to explain the 49% variance in the self-care behaviors regarding hypertension control. Patient-provider communication was the strongest positive direct effect on self-care behaviors for hypertension control. Patient provider communication was the positive indirect effect on self-care behaviors for hypertension control through knowledge about hypertension, knowledge about self-care demands, and perception about hypertension. This finding supported the SCDNT regarding the influence of basic conditioning factors on self-care agency and provided evidence for the development a nursing intervention program to promote patient-provider communication for helping individuals with hypertension to increase self-care behaviors regarding hypertension control.ผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงและไม่สามารถควบคุมโรคได้มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคไต พฤติกรรมการดูแลตนเองมีความสำคัญในการควบคุมความดันโลหิตสูง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแบบแผนความสัมพันธ์ของปัจจัยพื้นฐานและความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูง โดยใช้ทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเองของโอเร็ม เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงจำนวน 402 ราย จากโรงพยาบาลศูนย์ 3 แห่ง ในภาคกลางของประเทศไทย การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสำรวจแหล่งสนับสนุนของผู้ป่วย แบบสอบถามการรับรู้เกี่ยวกับการเจ็บป่วย แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับความต้องการการดูแลตนเอง และแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง วิเคราะห์แบบแผนความสัมพันธ์โดยใช้แบบจำลองสมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่าโมเดลพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตสูงที่ได้รับการปรับปรุงมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โมเดลสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการดูแลตนเองได้ ร้อยละ 49 การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้บริการและทีมสุขภาพเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงด้านบวกต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้บริการและทีมสุขภาพมีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองโดยผ่านความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ความรู้เกี่ยวกับความต้องการการดูแลตนเอง และการรับรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ผลการศึกษาครั้งนี้สนับสนุนทฤษฎีความพร่องในการดูแลตนเองของโอเร็มเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานมีอิทธิพลต่อความสามารถในการดูแลตนเอง และเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาโปรแกรมการส่งเสริมการสื่อสารระหว่างบุคลากรทีมสุขภาพกับผู้ป่วยเพื่อช่วยให้ผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมความดันโลหิตดีขึ้นix, 173 leaves : ill.application/pdfengSelf care -- ThailandHypertensionThe influence of basic conditioning factors and self-care agency on self-care behaviors in Thais with hypertensionอิทธิพลของปัจจัยพื้นฐานและความสามารถในการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตัวเองในคนไทยที่เป็นความดันหิตสูงMahidol University