Kanaungnit PongthavornkamolOlson, Karin L.Aurawamon SriyuktasuthKleebsabai SanpakitPiyarat Samantarath2023-09-112023-09-11201620162023Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2016https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89752This mixed method study aimed to investigate the influences of symptom experiences on health-related quality of life in adolescent patients with hematologic malignancies receiving treatment. The Theory of Unpleasant Symptoms by Lenz and colleagues (1997) was used as the conceptual framework of this study. The sample included 94 adolescents diagnosed with hematologic malignancies receiving chemotherapy at the division of pediatric hematology and oncology of three tertiary care hospitals in Bangkok. Data were collected using questionnaires including 1) demographic and clinical characteristics, 2) the modified Memorial Symptom Assessment Scale (7-12), 3) the Pediatric Quality of Life Inventory and semi-structure interview. Descriptive statistics, Mann-Whitney U test, multiple regression, and line-by-line content analysis were used for data analyses. The findings revealed that the mean symptoms occurrence was 4.7 symptoms (range 1-10; SD =2.35). The most prevalent symptoms were pain, nausea/vomiting, lack of appetite, worrying, and hair loss. The samples reported mean for health-related quality of life scores of 72.24 (SD= 13.65). Feeling sad, hair loss, and sleeping difficulty significantly influenced the health-related quality of life (R2 = 0.332, p< 0.05), explaining 33.2% of variance in health-related quality of life. The study findings suggested that health professionals should consider assessing these concurrent multiple symptoms in order to design effective intervention programs for relieving symptoms, to improve the patient's health-related quality of life during treatmentการวิจัยเชิงผสมผสานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการหลายอาการและอิทธิพลของอาการต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งระบบโลหิตวิทยา โดยใช้กรอบแนวคิดอาการที่ไม่พึงประสงค์ของเลนซ์และคณะ (Lenz et al., 1997) กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งระบบโลหิตวิทยาจำนวน 94 ราย ที่มารับยาเคมีบำบัด ณ แผนกกุมารเวชศาสตร์โลหิตวิทยาและมะเร็งในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 3 แห่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยให้ผู้ป่ วยตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย 1) แบบบันทึก ข้อมูลส่วนบุคคล โรคและการรักษา 2) แบบบันทึกอาการจากโรคและการรักษา 3) แบบสอบถามคุณภาพชีวิตสำหรับเด็ก และการสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติเชิงพรรณา สถิติ Mann-Whitney U สถิติสัมประสิทธ์ิ การถดถอย พหุคูณ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างเกิดอาการเฉลี่ย 4.7 อาการ (ตั้งแต่ 1-10; SD =2.35) อาการที่พบบ่อยที่สุดได้แก่ อาการเจ็บปวด คลื่นไส้/อาเจียน ไม่อยากอาหาร รู้สึกวิตกกังวล และอาการผมร่วงกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนคุณภาพชีวิตเท่ากับ 72.24 (SD=13.65) ผลการวิเคราะห์อิทธิพลของอาการพบว่าอาการรู้สึกเศร้า ผมร่วง และนอนหลับยาก มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตโดยรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R2 =0.332, p< 0.05) โดยอธิบายร้อยละ 33.2 ของความผันแปรของคุณภาพชีวิต บุคลากรด้านสุขภาพควรตระหนักถึงการประเมินอาการหลายอาการที่เกิดขึ้นพร้อมกันเพื่อที่จะให้การบำบัดที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดอาการและเพิ่มระดับคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยในระหว่างการรักษาx, 204 leaves : ill.application/pdfengMultiple tumorsQuality of lifeNeoplasms -- in adolescenceHematologic Diseases -- therapyMultiple symptoms and their influences on health-related quality of life in adolescents with hematologic malignancies receiving treatmentอาการหลายอาการและอิทธิพลของอาการต่อคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยวัยรุ่นโรคมะเร็งระบบโลหิตวิทยาระหว่างได้รับการรักษาMahidol University