Zay Ya SoeJiraporn ChompikulSeo Ah HongMahidol University. ASEAN Institute for Health Development2017-06-292017-06-292017-06-282016Journal of Public Health and Development. Vol. 14, No.3 (Sep - Dec 2016), 29-441905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2412A cross-sectional study was used to identify the prevalence of underweight status and risk factors among children aged between six to twenty- four months in Hlaing Tharyar Township. Two-stage stratified sampling method was used to randomly select 385 respondents. A face to face interview with a structured questionnaire were used to obtain data from mothers and their child’s weight were measured. Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine associations between independent variables and underweight of children. Prevalence of underweight status was 17.7%. The underweight status was significantly associated with family income, mother’s occupation, father’s occupation, gestational period, age of the child, immunization, food intake between 10 to 12 months and 13 to 24 months. Immunization (Adj OR= 3.31, 95%CI= 1.13-9.66) remained significant predictors for underweight status of children when adjusting for the other factors. Children not taking vaccination were 3.31 times more likely to be underweight than those taking vaccination. The findings of this study suggested that promoting health education programs to increase knowledge of mothers, and increasing immunization coverage up to 100% should be done by the authorities to improve the nutritional status of the children.การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กที่อายุ 6 -24 เดือน ในเมืองไลน์ตาย่าร์ ประเทศพม่า โดยสุ่มตัวอย่างแบบมีชั้นภูมิสองขั้นเพื่อให้ได้เด็กอายุ 6-24 เดือน จำนวน 385 คน การเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มารดาตามแบบสอบถามที่มีโครงสร้างและชั่งน้ำหนักของเด็ก วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์และการถดถอยลอจิสติคพหุคูณเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีน้ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็ก ความชุกของการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กเท่ากับ 17.7% ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีน้ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ ของเด็กอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ รายได้ครอบครัว อาชีพของมารดา อาชีพของบิดา อายุครรภ์ อายุเด็ก การฉีด วัคซีน อาหารที่กินระหว่างช่วงอายุ 10 ถึง 12 เดือน และ 13 ถึง 24 เดือน แต่เมื่อได้ปรับอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ แล้ว พบว่าการฉีดวัคซีน (Adj OR=3.31, 95%CI=1.13-9.66) ยังคงมีความสัมพันธ์กับการมีน้ำหนัก ต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กอายุ 6-24 เดือน เด็กที่ไม่ได้รับการฉีดวัคซีนมีแนวโน้มที่จะมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 3.31 เท่าของเด็กที่ได้รับการฉีดข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยของการศึกษานี้คือ กระทรวงสาธารณสุขและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อเพิ่มความรู้ของมารดาในเรื่องการเลี้ยงดูและภาวะโภชนาการของเด็กและจัดบริการให้เด็กได้รับการฉีดวัคซีนครบทุกคนเพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการของเด็กengMahidol UniversityPrevalence of underweight statusRisk factorsChildren aged between six to twenty-four monthsMyanmarOpen Access articleJournal of Public Health and DevelopmentวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาPrevalence and risk factors of underweight status among children aged between six to twenty-four months in Hlaing Tharyar Township of Myanmarความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กที่อายุ 6 -24 เดือน ในเมืองไลน์ตาย่าร์ ประเทศพม่าOriginal ArticleASEAN Institute for Health Development. Mahidol University