บุญนริศ สายสุ่มภูษิตา อินทรประสงค์จรรยา ภัทรอาชาชัยชาญวิทย์ ทระเทพBhusita Intaraprasongมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข2015-01-222017-06-302015-01-222017-06-3025582553วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 3 (2553), 257-2680125-1678https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2455การวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงาน ของสถานีอนามัยตามการรับรูข้ องหัวหน้าสถานีอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างคือ หัวหน้า สถานีอนามัย เขต 2 จำแนกเป็น จังหวัดชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง และเขต 18 จำแนกเป็นจังหวัดกำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ และอุทัยธานี ทำการสุ่มตัวอยางอยางงาย ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถาม ในการรวบรวมข้อมูล ช่วงเวลาที่เก็บข้อมูลตั้งแต่ 20 ตุลาคม ถึง 19 ธันวาคม 2552 ผลการวิจัยพบว่า หัวหน้าสถานี อนามัยรับรู้ว่าประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานีอนามัยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 57.8 คุณลักษณะผู้นำ ของหัวหน้า สถานีอนามัยภาพรวมอยู่ในระดับสูง รอ้ ยละ 65.3 ความสามารถในการบริหารงานของหัวหน้าสถานีอนามัย ภาพรวมอยู่ในระดับดี ร้อยละ 54.4 และการสนับสนุนจากเครือข่ายบริการปฐมภูมิภาพรวมส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี รอ้ ยละ 73.9 ความสามารถในการบริหารงานและคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าสถานีอนามัยมีอิทธิพลตอ่ ประสิทธิผล การดำเนินงานตามการรับรู้ของหัวหน้าสถานีอนามัยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งผลการวิจัยเสนอแนะว่าผู้บริหาร ทุกระดับควรจะให้ความสำคัญด้านความสามารถในการบริหารงาน และคุณลักษณะผู้นำของหัวหน้าสถานีอนามัยมากกว่า การสนับสนุนจากเครือข่ายบริการปฐมภูมิ การนิเทศงานจึงน่าจะมีการประเมินความสามารถในการบริหารงานและ คุณลักษณะผู้นำควบคูกั่นไปกับผลการดำเนินงาน The research was cross-sectional study. The sample in this research consists of Health Centers in District 2 which are Chainart, Lopburi, Singburi, and Ang-Thong and Health Centers in District 18 which are Kamphaengphet, Pijit, Nakhonsawan, and Uthaithani.Data collection was done using a questionnaire to collect data from 400 health centers. Data collection since 20 October - 19 December 2552. The results showed that health center leaders perceived the overall performance of health centers to be at a high level 57.8%. Overall traits of the leaders were at a high level 65.3%. The ability of health center management was at a good level 54.4% and support from the contracting unit for primary care organization was at a good level 73.9%. The abilily of management and the traits of the health center leaders affecting health center performance effectiveness as perceived by health center leaders. The results recommended that administrators should give priority to management ability and leadership traits rather than supporting resource management. Therefore, the orientation of provincial and district public health office teams should have assessments of management ability and leadership traits with the performance result.thaมหาวิทยาลัยมหิดลประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานีอนามัยคุณลักษณะผู้นำความสามารถในการบริหารงานการสนับสนุนจากเครือข่ายบริการปฐมภูมิหัวหน้าสถานีอนามัยHealth Center Performance EffectivenessLeadership TraitsManagement AbilitySupport from Contracting Unit for Primary CareHealth Center LeadersOpen Access articleวารสารสาธารณสุขศาสตร์Journal of Public Healthปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานีอนามัยตามการรับรู้ของหัวหน้าสถานีอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทยFactors affecting health center performance effectiveness as perceived by health center leaders, Minnistry of Public Health, ThailandArticleมหาวิทยาลัยมหิดล