Srisombat ChokprajakchatAdul NarongsakNamthae MeeboonslangDol BunnagAnchistha Suriyavorapunt2023-09-112023-09-11201720172023Thesis (Ph.D. (Criminology, Justice Administration and Society))--Mahidol University, 2017https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/89828The mixed-methods study entitled "The Development of Gun Control Measures" aimed to 1) study the situations, problems, and impediments in controlling the legally registered guns and, 2) compare the gun control measures abroad such as the US, Japan, and Germany to find out the appropriate approaches for Thailand in controlling the registered guns. The qualitative study was conducted through the indepth interview with the 17 executives on the governing side as well as those on the law enforcement one. The data was confirmed via the quantitative approach in with the questionnaire was used for data collection with 475 samples. It was revealed that the present gun control measures of Thailand, based on the Gun and Gun Bullet Act of 1947, still encounter the problems on the database storage, the outdated laws, the monitoring and checking, and the consideration of the registrars respectively. Hence, the study results could be used to set up the appropriate gun control measure approaches for Thailand of which the details are as follow. (1) the measure on the storage and analysis of the database (2) the measure on the law enforcement and development to be more updated (3) the measure on the registration and checking through the licensing extension system (4) the measure on the determination of the approaches for the consideration of the registrars (5) the measure on the GPS technology for the gun in the three southern border provinces of Thailand To make such measure much more efficient, the research suggests the establishment of the National Offices in Controlling the Gun which should be controlled by office of the Prime Minister. Its three internal offices should comprise (1) the Data center office, (2) the Research and Development office, and (3) the Law Monitoring office respectively.การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคในการควบคุมอาวุธปืนที่จดทะเบียนอย่างถูกต้องตามกฎหมาย และศึกษาเปรียบเทียบมาตรการควบคุมอาวุธปืนจากต่างประเทศได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่นและเยอรมัน เพื่อนำมาหาแนวทางการพัฒนามาตรการควบคุมอาวุธปืนที่เหมาะสมกับประเทศไทยต่อไป โดยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed method) ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารฝ่ายปกครองและฝ่ายบังคับใช้กฎหมายจำนวน 17 คน และยืนยันข้อมูลด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างฝ่ายปกครองและฝ่ายบังคับใช้กฎหมายทั่วประเทศจำนวนทั้งสิ้น 475 คน ผลการศึกษาพบว่ามาตรการควบคุมอาวุธปืนในปัจจุบันตามพระราชบัญญัติอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืนฯ พ.ศ.2490 ยังประสบปัญหาด้านการจัดเก็บฐานข้อมูล ปัญหาด้านกฎหมายที่ล้าหลังไม่ทันสถานการณ์ ปัญหาด้านการติดตามตรวจสอบอาวุธปืน และปัญหาด้านการใช้ดุลยพินิจของนายทะเบียน ซึ่งผลการศึกษาสามารถนำมากำหนดแนวทางมาตรการควบคุมอาวุธปืนที่เหมาะสมกับประเทศไทยได้ดังต่อไปนี้ (1) มาตรการด้านการจัดเก็บและวิเคราะห์ฐานข้อมูล (2) มาตรการบังคับใช้กฎหมายและการพัฒนากฎหมายให้ทันสมัย (3) มาตรการลงทะเบียนและตรวจสอบติดตามด้วยระบบต่อใบอนุญาต (Licensing) (4) มาตรการด้านการกำหนดกรอบการใช้ดุลยพินิจของนายทะเบียน (5) มาตรการทางเทคโนโลยี GPS สำหรับอาวุธปืนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อให้มาตรการดังกล่าวเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จึงนำไปสู่การจัดตั้งหน่วยงานควบคุมอาวุธปืนแห่งชาติเป็นองค์กรที่ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี ซึ่งภายในประกอบด้วยหน่วยงานหลัก 3 หน่วยงาน ได้แก่ (1) หน่วยงาน Data Center (2) หน่วยงาน Research and Development (3) หน่วยงานกำกับดูแลด้านกฎหมายxi, 149 leaves : ill,application/pdfengGun control -- ThailandFirearms -- Law and legislationThe development of gun control measuresการพัฒนามาตรการควบคุมอาวุธปืนMahidol University