วรัษยา สุนทรศารทูลอภิชัย อารยะเจริญชัยมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. งานสารสนเทศและห้องสมุดสตางค์ มงคลสุข2018-10-262018-10-262561-10-262558รังสิตสารสนเทศ. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค. 2558), 7-19https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/32847ในปี 2558 วงการห้องสมุดและบรรณารักษ์มีการตื่นตัวและวิพากษ์วิจารณ์ถึงกฎหมายลิขสิทธิ์กันอย่างกว้างขวาง คือ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์พ.ศ. 2537 และ พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ฉบับที่ 2 และ 3 พ.ศ. 2558 ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการดําเนินงาน และการให้บริการของห้องสมุด บรรณารักษ์และผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดเกิดความกังวลและความไม่แน่ใจในการปฏิบัติงานที่อาจเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์จนเป็นอุปสรรคสําคัญในการตัดสินใจดําเนินงานของห้องสมุด บทความนี้เป็นการวิเคราะห์ถึงเนื้อหาใน พ.ร.บ. ฉบับนี้โดยมุ่งเน้นที่ทรัพยากรประเภทสิ่งพิมพ์เป็นสําคัญIn 2015, the librarians have widely criticized the legal rights of the Copyright Act 1994 and the Copyright Act 2015, No. 2 and 3, which are relevant to operations and services. Librarians and library workers are concerned about their work process to the violation of this law. It has some impact in the library. This article analyzes the content of this Act, focusing on library resources, a major publication.devices and to help adjust our library's image to look more modern.thaลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์แวดวงบรรณารักษ์ความเข้าใจเรื่อง ลิขสิทธิ์ เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์ในแวดวงบรรณารักษ์Article