กุลธิดา อิทธิพรเรวดี โรจนกนันท์นาฏสุดา ภูมิจำนงค์จิระนันท์ เหมพูลเสริฐKuntida IttipornRaywadee RoachanakananNatsuda PumijumnongJiranun Hempoonsertมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์2015-09-192020-01-072015-09-192020-01-072015-09-192555-07วารสารหาดใหญ่วิชาการ. ปีที่ 10, ฉบับที่ 2 (2555), 79 -84.1686-1868https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48731การศึกษาในครั้งนี้มี จุด มุ่งหมายเพื่อวิเคราะห์หาปริมาณการสะสมของสารตะกั่ว ในขนหางของนกประจำถิ่นที่อาศํย อยู่ในนบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในพื้นที่ภาคเหนือ ตอนล่างของประเทศไทย โดยเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.2554 ด้วยการตั้งตาข่าย ดักนกในพื้นที่จุดเก็บตัวอย่าง 7 แห่งรอบพื้นที่ เมื่อได้นกมาแล้วจะทำ การติดเครื่องหมายประจำ ตัวนกและจำแนก อุปนิสัย การกิน อาหารของนกแต่ละชนดิ ออกเป็น 3 กล่มุ แบ่งเป็นนกกิน พืช นกกิน สัตว์ และนกที่กิน ทั้ง พืชและสัตว์ จากนั้นนำ ขนหางของนกแต่ละตัวมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ โดยใช้เครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทร สโกปีแบบไม่ใช้เปลวไฟ (Graphite Furnace Atomic Absorption Spectrophotometer (GFAAS) จากการวิเคราะห์ นกจำนวน 74 ตัว ในนก 24 ชนิดพันธุ์ พบว่านกกินพืชมีการสะสมของสารตะกั่วมากที่สุด ส่วนนกที่กินทั้งพืชและ สัตว์มีการสะสมน้อยที่สุด โดยที่นกกินพืช นกกินสัตว์ และนกที่กินทั้งพืชและสัตว์ มีค่าการสะสมของสารตะกั่ว อยู่ในช่วง 0.88 - 40.83, 0.18 - 28.09 และ 0.06 - 7.17 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ และมีค่าเฉลี่ย 14.44 ± 2.73, 7.69 ± 2.23 และ 2.84 ± 0.74 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง ตามลำดับ สำหรับนกที่พบว่ามีการ สะสมของสารตะกั่วมากที่สุดคือ นกสีชมพูสวน โดยมีค่าอยู่ในช่วง 40.83 ± 8.02 ไมโครกรัมต่อกรัม น้ำหนักแห้ง ความเข้มข้นของสารตะกั่วที่พบในการศึกษาครั้งนี้มีระดับต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับนกที่อาศัยในเขตมลพิษ แต่ในบาง ชนิดพันธุ์พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับนกที่อาศัยในเขตอุตสาหกรรม ซึ่งรายงานนี้เป็นรายงานการสะสมของสารตะกั่ว ในขนนกของประเทศไทยเป็นครั้งแรกThe aim of this study was to analyze the amount of lead (Pb) in tail feather of resident bird that inhabiting in Bung Boraphet Wetland, Nakhon Sawan province. This wetland is the largest freshwater lake in the lower part of the northern region of Thailand. The birds were caught by mist-nets in 7 study sites around this wetland between June and December 2011. Each bird was marked with individually numbered metal rings. The species were classified into 3 groups according to feeding habit as herbivores, omnivores and carnivores. The tail feather samples of the collected birds were analyzed for lead (Pb) content using Graphite Furnace Atomic Absorption Spectrophotometer (GFAAS). The level of lead (Pb) in 74 birds belonging to 24 species was highest in the herbivorous species and lowest in the omnivorous species. Lead (Pb) levels in herbivorous, carnivorous and omnivorous bird ranged from 0.88 to 40.83, from 0.18 to 28.09 and from 0.06 to 7.17 μg/g, dry weight, respectively, with the average of 14.44 ± 2.73, 7.69 ± 2.23 and 2.84 ± 0.74 μg/g, dry weight, respectively. High lead (Pb) bird species is Scarlet-backed Flowerpecker (Dicaeum cruentatum) contained lead (Pb) average at 40.83± 8.02 μg/g, dry weight. Lead (Pb) concentrations found in this study are low compared to the bird inhabiting polluted areas but some species are near the industrial areas. This is the first report on lead concentration in bird feathers from Thailand. :thaMahidol University.ขนนกอุปนิสัยการกินอาหารโลหะหนักพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ดFeatherfeeding habitheavy metalBung Boraphet Wetlandการสะสมของตะกั่วในขนนกที่มีอุปนิสัยการกินอาหารแตกต่างกัน บริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด จ.นครสวรรค์ประเทศไทยAccumulation of Lead in Bird Feather from Different Feeding Habits at Bung Boraphet Wetland, Nakhon Sawan Province, ThailandArticle