Sucheera PhattharayuttawatThanayot SumalrotCharinrat Ruangcham2024-01-102024-01-10201920192024Thesis (M.Sc. (Clinical Psychology))--Mahidol University, 2019https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92196Clinical Psychology (Mahidol University 2019)The purpose of this research is to translate the Fear of Missing Out scale (FoMOs): Thai version by backward translation and examine validity and reliability. The research data were collected online from 35 bilingual sample group and 424 sample group aged between 18-40 and living in Thailand. The validity was analyzed by content validity from the experts, criterion-related validity with The Pictorial Thai Self-Esteem Scale (PTSS), The International Personality Item Pool-NEO (IPIP-NEO) (only extroversion), and Social Interaction Anxiety Scale (SIAS), and construct validity. The results found that the Item Objective Congruence ranged 0.67- 1.00. Fear of Missing Out scale (FoMOs): Thai version had a significant correlation at the 0.01 level with SIAS. After analyzing by exploratory factor analysis, there was one component with 67.84 percent of the variance. Likewise, the parallel-form reliability by comparing between original and Thai version had a positive significant correlation value of 0.96. The internal consistency reliability by Cronbach's Alpha was 0.94. To conclude, the Fear of Missing Out scale (FoMOs): Thai version was comparable to the original measurement and useable in general Thais.งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดการ กลัวตกกระแสสังคมออนไลน์ฉบับภาษาไทยที่แปลด้วยวิธีการแปลย้อนกลับ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาด้วยวิธีหาค่าดัชนีความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญซึ่งอยู่ในช่วง 0.67-1.00 ความตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ด้วยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์กับแบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเองแบบรูปภาพสาหรับคนไทย แบบวัดบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ และแบบประเมินความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 กับแบบประเมินความกังวลต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม และความตรงเชิงโครงสร้างด้วยวิธีวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ซึ่งพบหนึ่งองค์ประกอบ นอกจากนี้ตรวจสอบความเที่ยงโดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์เครื่องมือฉบับดั้งเดิมและภาษาไทย พบว่ามีค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สันที่ 0.96 และพบความสอดคล้องภายในแอลฟาครอนบาคที่ 0.94 งานวิจัยนี้เก็บข้อมูลผ่านทางออนไลน์กับชาวไทยอายุ 18-40 ปี โดยแบ่งเป็น กลุ่มตัวอย่าง 424 คนและกลุ่มสองภาษา 35 คน นำไปสู่การได้มาซึ่งมาตรวัดการกลัวตกกระแสสังคมออนไลน์ฉบับภาษาไทยที่มีความเทียบเคียงกับฉบับดั้งเดิมและสามารถนำไปใช้ในบริบทของไทยได้xi, 70 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าAdaptability (Psychology) -- TestingHuman-computer interaction -- Psychological aspectsThe psychometric properties of Fear of Missing Out Scale (FOMOS) : Thai versionการศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดการกลัวตกกระแสสังคมออนไลน์ฉบับภาษาไทยMaster ThesisMahidol University