นิศารัตน์ ยมาภัยNisarat Yamaphaiมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา2022-06-232022-06-232565-06-232564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71583ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 22การใส่ท่อระบายน้ำสำหรับทารกในครรภ์ (fetal shunting) เป็น หนึ่งในหัตถการรักษาทารกในครรภ์ชนิดที่มีความเสี่ยงน้อย ซึ่งสามารถช่วยใน การรักษาหรือบรรเทาความผิดปกติบางชนิดของทารกในครรภ์ อันได้แก่ ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) ความผิดปกติของเนื้อปอดที่ เป็น congenital pulmonary airway malformation ชนิดที่มีถุงน้ำขนาด ใหญ่ (macrocystic lesion) และการอุดกั้นทางออกของกระเพาะปัสสาวะ (lower urinary tract obstruction) โดยปัจจุบันมีหลักฐานทางการแพทย์ที่ สนับสนุนการทำหัตถการชนิดนี้ในภาวะต่างๆเหล่านี้ ทีมผู้วิจัยจึงได้คิดพัฒนา แบบจำลองการใส่ท่อระบายน้ำเพื่อรักษาทารกในครรภ์ เพื่อให้ทีมผู้รักษา ทารกในครรภ์มีทักษะและความชำนาญในการทำหัตถการนี้ ก่อนที่จะทำการ รักษาในผู้ป่วยจริงthaมหาวิทยาลัยมหิดลการรักษาทารกในครรภ์ท่อระบายน้ำทารกในครรภ์แบบจำลองMahidol Quality Fairfetal shuntingแบบจำลองฝึกฝนการใส่ท่อระบายน้ำทารกในครรภ์Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล