อุบลวรรณ เที่ยงบูรณธรรมภูษิตา อินทรประสงค์วันเพ็ญ แก้วปานจุฑาธิป ศีลบุตรมหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียนมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธาณสุขศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลสาธารณสุขมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธาณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข2017-06-282017-06-282017-06-272554วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 9, ฉบับที่ 2 (2554), 143-1531905-1387https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2401การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผล ตอ่ คุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามการรับรูข้ องพยาบาลวิชาชีพเครือ โรงพยาบาลพญาไท กรุงเทพมหานคร จำนวน 199 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามการ รับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ และแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และ วิเคราะห์ความสามารถในการอธิบายความผันแปรคุณภาพการบริการทางการ พยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบ ขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามการรับรู้ของ พยาบาลวิชาชีพเครือโรงพยาบาลพญาไท กรุงเทพมหานครอยูใ่ นระดับดีมาก แรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี และมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับ ตํ่ากับคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ปัจจัยจูงใจมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับปานกลางและปัจจัยคํ้าจุนมีความ สมั พันธเ์ ชิงบวกระดับตา่ํ กับคุณภาพการบริการทางการพยาบาล ตามการรับรู้ ของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพการบริการทางการ พยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ ได้ร้อยละ 97.6 ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้คือ ผู้บริหารการพยาบาล ควรให้การ สนับสนุนแรงจูงใจในการปฏิบัติงานด้านนโยบายและการบริหาร ความ สัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน การได้รับการยอมรับนับถือ โอกาสที่จะได้รับ ความก้าวหน้าในอนาคต ความรับผิดชอบ ความก้าวหน้า ความสัมพันธ์กับ ผู้ใต้บังคับบัญชา ลักษณะงานที่ปฏิบัติ เงินเดือน สภาพการปฏิบัติงาน และ เทคนิคการนิเทศให้มากขึ้น อันจะก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพบริการทางการ พยาบาลต่อไปThis research aims to explain work motivation that affects nursing service quality according to the perception of registered nurses at Phyathai Hospital Group. There were a total of 199 nurses. Research tools used were questionnaires regarding nursing service quality and work motivation according to the perception of registered nurses. The hypothesis was tested by analyzing relationships using Pearsons’ product moment correlation and by analyzing the ability to explain the variance of nursing service quality according to the perception of registered nurses using multiple linear regression. Results showed that nursing service quality according to the perception of registered nurses at Phyathai Hospital Group was at a very good level. Work motivation of registered nurses at Phyathai Hospital Group was at a good level and had a positive relationship with nursing service quality according to the perception of registered nurses. Motivation factors had a moderate positive relationship but hygiene factors had a low level positive relationship with nursing service quality according to the perception of registered nurses. Motivation factors and hygiene factors could predict 97.6% of nursing service quality. This research recommends that management should provide more support in terms of policy and administration by improving relationships among peers, recognition, possibility of growth, responsibility, advancement, relationship with subordinates, work itself, salary, working conditions and supervision-technical that will result in the development of nursing service quality.thaมหาวิทยาลัยมหิดลแรงจูงใจในการปฏิบัติงานWork motivationคุณภาพการบริการทางการพยาบาลNursing service qualityพยาบาลวิชาชีพRegistered nurseOpen Access articleวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาJournal of Public Health and Developmentแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อคุณภาพการบริการทางการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพเครือโรงพยาบาลพญาไทกรุงเทพมหานครHow motivation to work affects nursing service quality according to the perception of registered nurses at Phyathai hospital group in Bangkok, ThailandResearch Articleสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล