Sukanya TantiprasoplapNoppawan PiaseuSurasak TaneepanichskulChutinun Jidtapapudsronสุกัญญา ตันติประสพลาภนพวรรณ เปียซื่อสุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุลชุตินันท์ จิตตประภัสสรMahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Ramathibodi School of NursingChulalongkorn University. College of Public Health SciencesDonsai Health Promotion Hospital2022-09-192022-09-192022-09-192018Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 4 (Oct-Dec 2018), 74-800125-3611 (Print)2651-0561 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79566Background: Cardiorespiratory fitness (CRF) is one of the most important components of physical fitness. Low levels of CRF are associated with high mortality risk. Objective: To investigate factors associated with CRF in postmenopausal women with prehypertension. Methods: A descriptive design was used in this study. Through purposive sampling, 84 postmenopausal women with prehypertension were recruited from Ratchaburi province. The data were collected by using the structured questionnaire with face-to-face interview. All of the participants were measured for CRF (estimated maximal oxygen uptake [VO2max]). Data were analyzed using descriptive and inferential statistics. Results: The results revealed that mean age of participants was 55.15 ± 7 years (range, 44 - 69 years). Most of them were married (69%), obtained primary education (76.2%), worked as farmer (76.2%), and none farmers (23.8%). Approximately half of them did not exercise (42.9%). CRF was associated with waist circumference (rp = -0.637, P < 0.001), body mass index (rp = -0.562, P < 0.001), heart rate (rp = -0.581, P < 0.001), and occupation (rs = 0.396, P < 0.001). Conclusions: Factors including waist circumference, body mass index, and heart rate were negatively associated with CRF in postmenopausal women with prehypertension. The results suggest approaches for healthcare providers to develop programs promoting cardiorespiratory fitness among postmenopausal women with prehypertension to enhance their health status and prevent hypertension and cardiovascular risk factors.บทนำ: สมรรถภาพของหัวใจและปอดเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของสมรรถภาพทางกาย ค่าสมรรถภาพของหัวใจและปอดที่ต่ำสัมพันธ์กับความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพของหัวใจและปอดในสตรีวัยหลังหมดระดูที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบบรรยาย กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีวัยหลังหมดระดูที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงในจังหวัดราชบุรี จำนวน 84 คน สุ่มแบบเจาะจง การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ใช้แบบสอบถาม และการวัดสมรรถภาพของหัวใจและปอด (ค่าประมาณการใช้ออกซิเจนสูงสุด) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติอ้างอิง ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 55.15 ± 7 ปี (ช่วงอายุ 44 - 69 ปี) ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรสร้อยละ 69 การศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 76.2 ประกอบอาชีพทำนาร้อยละ 76.2 และประมาณครึ่งหนึ่งไม่ได้ออกกำลังกายร้อยละ 42.9 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพของหัวใจและปอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เส้นรอบเอว (rp = -0.637, P < 0.001) ดัชนีมวลกาย (rp = -0.562, P < 0.001) อัตราการเต้นของหัวใจ (rp = -0.581, P < 0.001) และอาชีพ (rs = 0.396, P < 0.001) สรุป: ปัจจัยซึ่งประกอบด้วย เส้นรอบเอว ดัชนีมวลกายและอัตราการเต้นของหัวใจ มีความสัมพันธ์เชิงลบกับค่าสมรรถภาพของหัวใจและปอดในสตรีวัยหมดประจำเดือนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง จากผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมรรถภาพหัวใจและหลอดเลือดในสตรีวัยหมดประจำเดือนที่มีภาวะความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดengMahidol UniversityCardiorespiratory fitnessPostmenopausal womenPrehypertensionสมรรถภาพของหัวใจและปอดสตรีวัยหลังหมดระดูกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงFactors Associated With Cardiorespiratory Fitness in Postmenopausal Women With Prehypertension in Thailandปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสมรรถภาพของหัวใจและปอดในสตรีวัยหลังหมดระดูที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงOriginal ArticleRamathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol UniversityCollege of Public Health Sciences Chulalongkorn UniversityDonsai Health Promotion Hospital