Penprapa Chiewcharatเพ็ญประภา ชิวชรัตน์Suwannee Luppanapornlarpสุวรรณี ลัภนะพรลาภSupatchai Boonprathamสุพัฒน์ชัย บุญประถัมภ์Pongstorn Putongkamพงศธร พู่ทองคำMahidol University. Faculty of Dentistry. Department of Orthodontics2015-03-262017-01-052015-03-262017-01-052015-03-172011-09Chiewcharat P, Luppanapornlarp S, Boonpratham S, Putongkam P. Cephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages. M Dent J. 2011; 31(3): 121-32.0125-5614 (printed)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1097Objective: The aims of this study were to determine pre- and posttreat ment of cephalometric measurements in the skeletal anterior open bite patients with and without mini-implant anchorages (MIAs), and to compare the measurements between both groups. The hypothesis is that there are differences of treatment changes between groups. Materials and methods: A retrospective study was performed in fifteen skeletal anterior open bite patients. The MIAs were used to intrude molars in six patients (mean age of 25±8.1 years). Another nine patients (mean age of 24.3±2.6 years) were treated without MIAs and served as a control group. Paired t-test and Mann-Whitney U test were used to determine changes within and between groups, respectively (P<0.05). Results: There were no significant differences of skeletal and soft tissue profile changes between the 2 groups, except LL-E plane. For dental changes, both groups show successful open bite correction with significant treatment changes of U1-NA, overbite, overjet (P<0.05). It was found that the upper first molars in the MIAs group were more intruded significantly when compared with the control group (P<0.05). Upper incisors in the control group seem to be more extruded but not significantly. Conclusion: Molar intrusion using MIAs could be another choice of treatment for skeletal anterior open bite patients with minimal patient cooperationวัตถุประสงค์: การศึกษานี้เพื่อประเมินค่าทางเซฟฟาโลเมตริกในผู้ป่วยที่มีโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดก่อนและหลังการรักาทางทันตกรรมจัดฟันโดยใช้และไม่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟัน และเพื่อเปรียบเทียบ ผลสำเร็จหลังการรักษาระหว่างกลุ่ม โดยตั้งสมมุติฐานว่ามีความแตกต่างกันหลังการรักษาระหว่างสองกลุ่มนี้ วัสดุอุปกรณ์และวิธีการรักษา: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง โดยกลุ่มศึกษามีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิดตามเกณฑ์ที่กำหนดได้จำนวนทั้งสิ้น 15 คน เป็นกลุ่มนักศึกษาที่ใช้หมุดยึด 6 คน (อายุเฉลี่ย 25±8.1 ปี) และอีก 9 คน เป็นกลุ่มที่ไม่ใช้หมุดยึดโดยจัดเป็นกลุ่มควบคุม (อายุเฉลี่ย 24.3±2.6ปี) ศึกษาเปรียบเทียบโดยใช้สถิติ Paired t-test c]t Mann-Whitney U test (p<0.05) ผลการศึกษา: การศึกษานี้พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของค่าเซฟาโลเมตริกก่อนการรักษาระหว่างกลุ่มที่ ใช้และไม่ใช้หมุดทางทันตกรรมจัดฟัน ยกเว้นค่า LL- E plane นอกจากนี้ทั้งสองกลุ่มสามารถแก้ไขปัญหาการสบเปิดของฟันหน้าโดยมีการเปลี่ยนแปลงของค่า u1 –NA, ค่าการเหลี่ยมแนวดิ่ง (overbite) และค่าการเหลื่อมแนวราบ (overjet) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเปรียบเทียบค่าก่อนและหลังการรักษา อย่างไรก็ตามพบว่าในกลุ่มที่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันจะมีการกด (intrude) ฟันกรามได้มากกว่าที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(p<0.05) และกลุ่มที่ไม่ได้ใช้หมุดยึดจะมีแนวโน้มของการยื่นยาวของฟันหน้าบนมากกว่ากลุ่มที่ใช้หมึดแต่ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ บทสรุป: การใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันเพื่อการกด (intrude) ฟันกรามสามารถทำได้และเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งในการแก้ไขผู้ป่วยที่มีลักษณะโครงสร้างกระดูกแบบฟันหน้าสบเปิด ซึ่งอาศัยความร่วมมือในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันของผู้ป่วยน้อยengMahidol Universityเซฟฟาโลเมตริกหมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันฟันหน้าสบเปิดทันตกรรมจัดฟันCephalometricMini-implant anchoragesOpen biteOrthodontic treatmentOpen Access articleวิทยาสารทันตแพทยศาสตร์มหิดลMahidol Dental JournalCephalometric assessment in anterior open bite patients treated with and without mini-implant anchorages.ค่าเซฟาโลเมตริกในผู้ป่วยฟันหน้าสบเปิดที่จัดฟันร่วมกับการใช้และไม่ใช้หมุดยึดทางทันตกรรมจัดฟันArticleFaculty of Dentistry Mahidol University