ประภัส พวงนางแย้มวิภารัตน์ นิรัติศัยธันย์ชนก จิตติวิไลประสงค์ เสือโคร่งอัณณพ ทรัพย์อุภัยPraphat PuangnangyeamWiparat NirattisaiThunchanok JittivilaiPrasong SuekrongUnnop Supupaiมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. หน่วยตรวจและติดตามผลการรักษาออร์โธปิดิคส์2022-09-282022-09-282565-09-282564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79708ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 128ผู้ป่วยบาดเจ็บทางมือหลังการผ่าตัด และเข้าเฝือกพบภาวะแทรกซ้อนคือข้อต่อบริเวณมือยึดติดร่วมกับมีอาการปวดและแรงบีบมือลดลง มีจำนวน 120 ราย/ปี ทำให้ผู้ป่วยไม่สุขสบายและกิจวัตรประจำวันเสียไป เดิมผู้ป่วยบริหารข้อต่อมือด้วยการใช้มือกำและบีบผ้าขนหนูม้วนเป็นแท่งพอดีกับฝ่ามือ/ใช้ลูกบอลเล็กๆกำบีบในการบริหารพบว่าอาการ ยังไม่ดีขึ้นหน่วยงานจึงทำนวัตกรรม Hand Exercise เพื่อช่วยในการฝึกบริหารข้อต่อมือผลดำเนินการพบว่าค่าแรงบีบมือข้างผิดปกติของผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นทุกราย 100 % อัตราผู้ป่วยมีอาการปวดลดลงจากเดิม Pain score 4-5 เป็น≤2 ทุกคน100%,ลดค่าใช้จ่ายในการทำกายภาพบำบัดในปี 2563 ได้ถึง 108,000 บาท อัตราความพึงพอใจทั้งผู้ป่วยและบุคลากรต่อนวัตกรรมเพิ่มขึ้นจากเดิม 50% เป็น100% ความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อนวัตกรรมคือ ใช้ง่าย สะดวกทนทาน นำกลับไปฝึกบริหารด้วยตนเองที่บ้านได้ สามารถปรับแรงต้านของอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และลดระยะเวลาในการรักษาthaมหาวิทยาลัยมหิดลexercisehandการผ่าตัดกายภาพบำบัดผู้ป่วยบาดเจ็บทางมือMahidol Quality Fairนวัตกรรม Hand exerciseProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล