เจตสุมน ประจำศรีพรพิมล อดัมส์พิชชาภา วุฒิเกษสุเมธ สืบตระกูลวิจักขณ์ อโณวรรณพันธ์บุษรีฐิ ตาภิวัฒนกุลไอลดา อังอัจฉะริยะศิวาพร สามังณัฐพร คชสีห์มนตรี หนูจันทร์ปัณณวิช ปรางอำพรไพริน บุญประเสริฐบัวรัน นิละภาวิรงค์รอง เจียรกุลมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะเวชศาสตร์เขตร้อน2022-06-222022-06-222565-06-222564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71563ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 4การหล่อหลอมวัฒนธรรมและค่านิยมของการเป็นนักวิจัยของ บุคลากรคณะเวชศาสตร์เขตร้อนมีพัฒนาการต่อเนื่องมาอย่างยาวนานนับแต่ เริ่มก่อตั้งคณะฯ ด้วยการมุ่งมั่นในพันธกิจและวิสัยทัศน์ในการจะไปสู่ สถาบันวิจัยด้านโรคเขตร้อนระดับโลก ผู้นำและบุคลากรของคณะฯ ในแต่ละ ช่วงของการพัฒนา จึงต้องมีกลยุทธ์และการปรับปรุงกระบวนงานสร้าง ทีมงานเพื่อให้การปลูกฝังเสริมสร้างนักวิจัยและสิ่งแวดล้อมขององค์กร ให้เอื้อ ต่อการทำงานวิจัยอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องมีการขยายทีมงานจนเป็น ระบบที่มีความเข้มแข็งในปัจจุบัน กระบวนการพัฒนาดังกล่าวนี้ แบ่งเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งคณะ (ปี 2503) จนถึงปี 2532 (ก้าวแรก แห่งการบุกเบิก และก้าวสู่ความเป็นนานาชาติ) มุ่งโครงสร้างพื้นฐานและสรร หาบุคลากร สร้างเครือข่ายความร่วมมือ ระยะที่ 2 ปี 2533 จนถึงปี 2542 (ก้าวสู่การพัฒนาอย่างมั่นคง) เสริมสร้างนักวิจัย มีมาตรฐานจริยธรรม ให้ทุนสนับสนุน ระยะที่ 3 ปี 2543 จนถึงปี 2552 (ก้าวสู่ความเป็นผู้นำระดับ ภูมิภาค) วางระบบมาตรฐานความปลอดภัย จริยธรรม ทีมสนับสนุนการ เผยแพร่งานวิจัย ระยะที่ 4 ปี 2553 จนถึงปัจจุบัน (ก้าวสู่ความเป็นเลิศ) อบรม บุคลากรให้เข้าสู่การปฏิบัติลงมือทำวิจัยได้เร็วขึ้น เป็นนักวิจัยคุณภาพthaมหาวิทยาลัยมหิดลResearch CultureNurturingCore valueMahidol Quality FairNurturing Research Culture Towards the World Class Tropical Medicine Research InstituteProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล