Sirirat HirunratPawadon Raktaweeศิริรัตน์ หิรัญรัตน์ภวดล รักทวีMahidol University. College of Sports Science and Technology2014-08-202017-03-212014-08-202017-03-212014-08-202013-07Journal of Sports Science and Technology. Vol. 13, No. 1, (July 2013), 11-18https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1450The majority of the research to date on weightlifting has focused on two senior female 2004 and 2008 Olympic gold medal weightlifters. The performances of 6 women weightlifters were Thai Youth National Team and performing in the final selected for the representative of Thailand national weightlifter in the Youth Olympic Games 2010 competition in Singapore. The kinematics data of the barbell were recorded and analyzed using Peak Motion Analysis. 2-D Motion Analysis system from the snatch lift including barbell resultant trajectory, vertical and horizontal displacement, peak height, velocity, and acceleration. The performance of the athletes competing in 69-kg class and 48-kg class and the average age 15.8 years old the snatch attempts only once performance with the maximum lifting. The results showed that the average of barbell peak height were 1.29±0.1m, vertical barbell displacement 0.144±0.03m, horizontal barbell displacement 0.180±0.28 m, maximum vertical barbell velocity 2.84±0.26 m/s at 31±4 time % snatch, and maximum vertical barbell acceleration 23.59±4.34m/s2 at 29±6 time % snatch, respectively. The results of this study suggest that the appearance of the second pull in maximum vertical velocity and acceleration with time % snatch of weightlifters could be used as a criterion of lifting skill and a measure of performance.กีฬายกนํ้าหนักในประเทศไทยได้มีผู้ทำการศึกษาเฉพาะนักกีฬาในรุ่นประชาชน โดยเฉพาะในนักกีฬาหญิงไทยรุ่นประชาชน 2 คน ที่ได้รับเหรียญทองในกีฬาโอลิมปิค 2004 และ2008 การศึกษาครั้งนี้จึงเลือกศึกษาในนักกีฬาเยาวชนหญิงจำนวน 6 คน ในรุ่นนํ้าหนักตัว 69 กก. และ 48 กก ที่เข้าร่วมคัดเลือกเพื่อเป็นตัวแทนประเทศไทยในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิคเยาวชน 2010 ณ ประเทศสิงคโปร์ โดยศึกษาทางด้านคิเนเมติกของการเคลื่อนไหวของบาร์เบลในการยกที่นํ้าหนักมากที่สุด 1 ครั้ง โดยใช้กล้องความเร็วสูง และโปรแกรมซอฟแวร์ วิเคราะห์ แบบ 2 มิติ ซึ่งประกอบด้วยเส้นทางการเดินทางของบาร์เบล การเปลี่ยนตำแหน่งของบาร์เบลในแนวตั้ง และแนวขนาน ระยะทางสูงสุด อัตราความเร็วและอัตราความเร่งเชิงเส้นตรงของบาร์เบล ผลการศึกษาพบว่านักกีฬามีอายุเฉลี่ย 15.8 ปี ในการยกครั้งที่ได้นํ้าหนักมากที่สุดของท่าสแนทซ์นั้น นักกีฬายกบาร์เบลที่จุดสูงสุดก่อนเคลื่อนตัวเข้าใต้บาร์เบลที่ความสูง 1.29±0.1 เมตร มีการเคลื่อนที่ของบาร์ในแนวตั้งและแนวนอนออกจากแกนลำตัว 0.144±0.03 และ 0.180±0.28 เมตร ตามลำดับ อัตราความเร็วและความเร่งสูงสุดของบาร์เบลในแนวตั้ง 2.84±0.26 เมตร/วินาที ที่ 31±4 %ของสแนทซ์ และ 23.59±4.34 เมตร/วินาที2 ที่ 29±6 %ของสแนทซ์ ตามลำดับผลการศึกษาสรุปได้ว่าการดึงบาร์เบลขึ้นในแนวตั้งในช่วงการดึงครั้งที่ 2 จะเป็นการดึงที่ทำให้มีอัตราความเร็วและความเร่งสูงสุด ซึ่งนักกีฬายกนํ้าหนักเยาวชนควรได้ศึกษาและใช้ข้อมูลเหล่านี้มาเป็นแบบอย่างเพื่อวิเคราะห์ท่าทางการยกท่าแสนทซ์engMahidol UniversityKinematicSnatchYouth weightlifterคิเนเมเติกสแนทซ์นักยกนํ้าหนักเยาวชนOpen Access articleวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาJournal of Sports Science and TechnologyKinematics analysis of barbell of national Thai youth Weightliftersการวิเคราะห์คิเนเมติกของบาร์เบลในการยกนํ้าหนักท่าสแนทซ์สูงสุดของนักกีฬาเยาวชนArticleSports Science Society of Thailand (SSST)สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาแห่งประเทศไทย (สวกท)