อุทุมพร ปานบุญหอมโชติมากาน์ ไชยเยศUdhumporn PanboonhomChotimakan Chaiyesมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองกิจการนักศึกษา2020-05-102020-05-102563-05-102560วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2560), 82-99https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/55104การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อหาจุดอ่อน จุดแข็ง และโอกาสในการพัฒนาการให้บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา และข้อเสนอแนะในการให้บริการ โดยทำการศึกษาด้วยวิธีการสำรวจความพึงพอใจในการบริการจากกลุ่มตัวอย่าง 322 คน ที่ใช้บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีการศึกษา 2557 ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก สำหรับการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บริการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล จำแนกตามเพศ อายุ พบว่า นักศึกษามีระดับความพึงพอใจแตกต่างกัน ด้านการจำแนกตามระดับชั้นปีการศึกษา นักศึกษามีความพึงพอใจแตกต่างกัน การวิจัยในครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ การปรับปรุงด้านการประชาสัมพันธ์ โดยการเพิ่มช่องทางการประชัมพันธ์ให้มากขึ้น และถึงตัวนักศึกษาโดยตรง ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการต้องพูดจาสุภาพ มีความเอาใจใส่ ให้ความช่วยเหลืออย่างรวดเร็วและถูกต้อง ด้านสถานที่ให้บริการเพิ่มช่วงเวลา ให้บริการแก่นักศึกษาในช่วงเย็นและกำหนดคณะที่มารับบริการให้ชัดเจน เพื่อความสะดวกรวดเร็วและไม่เกิดความแออัด การพัฒนารูปแบบและแนวทางการปฏิบัติงานในการให้บริการกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา เพื่อให้นักศึกษาเข้าถึงบริการและเกิดความพึงพอใจมากขึ้นThe purpose of this research were to study the student satisfaction statistics toward using Mahidol Educational Loan Fund, to find out weaknesses, strengths and opportunities for the improvement of the education loan customer service and counsel. The sample was composed of 322 students using the loan service of Mahidol University in Academic Year 2014. The results showed that the level of student satisfaction toward the use of Mahidol Educational Loan Fund service was at high satisfaction at all five aspects. For comparison of the level of student satisfaction toward the use Mahidol Education Loan Fund service classified by age and academic year. The result show that the students from different age and academic year had different level of satisfaction. This research had suggested that the improvement of public relations by adding more channels and directly contact students are necessary. The officer must speak politely and provide promptly and accurately assistance. The office need to extended the service time students in the evenings with the suitable number of officers for the convenience and no congestion. The development of guidelines for the educational loan funds is necessary to provide students with more convenience service and satisfaction.thaมหาวิทยาลัยมหิดลความพึงพอใจกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาSatisfactionEducational Loan Fundนักวิชาการศึกษาการสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้บริการ กองทุนเงินให้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลA Survey of student satisfaction towards the service of the student loan, Mahidol UniversityResearch Articleสำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล