พูนพิศ อมาตยกุลณัฐชยา นัจจนาวากุลสุภาพร ฉิมหนู2024-01-152024-01-15256025672560วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ดนตรี))--มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/92689ดนตรี (มหาวิทยาลัยมหิดล 2560)งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยทางมานุษยวิทยาดนตรีเกี่ยวกับเพลงกล่อมเด็กสำเนียงเจ๊ะเห มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบททางวัฒนธรรม ลักษณะทางดนตรี รูปแบบและคำร้องในเพลงกล่อมเด็กของชาวเจ๊ะเห โดยมีขอบเขตการศึกษาคือ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส และ เขตตุมปัต รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย เพลงกล่อมเด็กของมีความสำคัญทำให้ทารกรู้สึกปลอดภัย ทำให้แม่ลูกมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้แก่ทารก เพื่อเติบโตเป็นคนดีของสังคม สังคมก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทำให้เพลงกล่อมเด็กเริ่มสูญหายไป แต่ชาวเจ๊ะเหยังคงรักษาภูมิปัญญาที่ดีงามนี้ไว้ได้จนกระทั่งทุกวันนี้ ผลการศึกษาพบว่า ฉันลักษณ์ของเพลงกล่อมเด็กสำเนียงเจ๊ะเห มากกว่าครึ่งมีลักษณะคล้ายกับร่ายยาวใช้คำเรียงวรรคละ 4-5 พยางค์ นอกจากนั้นมีฉัทลักษณ์คล้ายชาน้องและคล้ายกาพย์ยานี กลุ่มเสียงที่พบ คือ (1) กลุ่มเสียงแบบ 3 เสียงโน้ต (2) กลุ่มเสียงแบบ 4 เสียงโน้ต เนื้อหาสามารถแบ่งได้เป็น 6 หมวด คือ (1) สะท้อนภาพวิถีชีวิตและค่านิยมในสังคม (2) การเกี้ยวพาราสี (3) ปริศนาทายคำเพื่อความสนุกสนาน (4) การตัดพ้อต่อว่า (5) ความชื่นชมในธรรมชาติ และ (6) ความเชื่อประเพณีและศิลปวัฒนธรรมThis Thesis was qualitative research conducted according to the ethnomusicological methodology. The purpose was to study the cultural, musical characteristics, forms, and lyrics of the Je-hay lullaby. The scope of the research was (1) in the district of Tak-Bai, Narathiwat, Thailand and (2) in the Tumpat district of Kelantan, Malaysia. Lullabies are important to make babies feel safe and it builds a closer relationship with the mother. Nowadays, the advancement of technology has made lullaby disappear, but these ethnic groups keep it until now. Most scholars in ethnology claimed that the Je-Hay dialect status derived from the Sukhothai Siamese kingdom (1257-1419) which was the time of the first monarch to rule Siam. The Je-hay cultural social belief and value have existed in TakBai and Tumpat for over 700 years. In 2013, the Thai cultural department declared that Je-hey is the intangible cultural heritage of the nation. Results were described in 5 aspects: (1) The Lyrical prosody and form (2) The vocal patterns (3) the characteristics of melody (4) The cultural value of the lullaby and (5) The lyrical meaning category. It also showed an illustrated table, the comparison among characteristic of the lullaby from the different geographical area of Thailand. General lullaby and Je-Hay lullabies are long without strict correspondence of sound between words. The poetic style, the number of words, and the length of the poems are similar in the northeastern part (Isan) lullabies and Je-Hay lullabies. The Je-hay lullaby had its specific character with the use of one word for one note. The Melody of Je-Hay lullabies were using 2 types: (1) Group1: 3 notes (2) Group2: 4 notes. Meanings are stressed within moral, ethical, courting, nature and love in the family.ก-ฐ, 173 แผ่น : ภาพประกอบapplication/pdfthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าเพลงกล่อมเด็กเพลงกล่อมเด็ก -- ไทย (ภาคใต้)การศึกษาเพลงกล่อมเด็กภาคใต้สำเนียงเจ๊ะเห (ตากใบ-ตุมปัต)Studies of the Southern lubbaby, Je-Hay dialect (Tak-Bai-Tumpat)Master Thesisมหาวิทยาลัยมหิดล