อุดมพร จุลฤกษ์วงเดือน ปั้นดีมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปาราสิตวิทยา.2016-02-242021-09-152016-02-242021-09-152559-02-162534https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63551เอกสารประกอบการประชุม การประชุมวิชาการสาธารณสุขแห่งชาติ ครั้งที่ 5 คุณภาพชีวิตไทยที่พึงปรารถนา: แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน, วันที่ 18-20 ธันวาคม 2534 ณ โรงแรมเอเซีย กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2534. หน้า 261.การศึกษาพฤติกรรมอนามัยกับการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ หมู่บ้านหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับความชุกของการเกิดโรค จำนวนที่ศึกษาทั้งสิ้น 670 คน 127 หลังคาเรือน พบว่า อัตราความชุกของโรคหนอนพยาธิเป็นร้อยละ 44.9 ในจำนวนนี้พบโรคพยาธิใบไม้ตับมากที่สุด คือ ร้อยละ 35 และมีมากในกลุ่มอายุ 41-50 (ร้อยละ 54) ผู้มีประวัติกินปลาดิบๆสุกๆ มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับ 10 เท่าของผู้ที่ไม่กินระดับรายได้ไม่มีผลต่อความเสี่ยงในการเกิดโรค ด้านพฤติกรรมอนามัย พบว่า กลุ่มผู้ป่วยและไม่ป่วยมีค่าเฉลี่ยของคะแนนแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติthaมหาวิทยาลัยมหิดลปลาดิบ (ก้อยปลา)พฤติกรรมอนามัยโรคพยาธิใบไม้ตับการศึกษาพฤติกรรมอนามัยกับการเป็นโรคพยาธิใบไม้ตับ ในหมู่บ้านหนึ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยProceeding Abstract