Wichana ChamroonratMalulee TuntawiroonTinnagorn Donmoon2024-01-192024-01-19201620242016Thesis (M.Sc. (Medical Physics))--Mahidol University, 2016https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/93300Medical Physics (Mahidol University 2016)The increasing numbers of 18F-FDG PET/CT studies in routine clinical practice may pose risk of higher radiation exposure to medical staff. The aim of this study is to estimate the whole-body and finger radiation doses per study received by nuclear medicine staff involved in dispensing, administration of 18F-FDG and interacting with radioactive patients during PET/CT imaging procedures in a PET/CT facility. The whole-body doses received by radiopharmacists (n=2), technologists (n=9), and nurses (n=2) were measured by electronic dosimeter and the finger doses by ring dosimeter during a period of 4 months. Time spent with 18F-FDG was recorded. In 70 PET/CT studies, the mean effective whole-body dose per study to radiopharmacists, technologists, and nurses were 1.07±0.09, 1.77±0.46, μSv, and was not detectable respectively. The mean finger doses per study received by radiopharmacists, technologists, and nurses were 265.65±107.55, 4.84±1.08 and 19.22±2.59 μSv, respectively. The average time in contact with 18F-FDG was 5.88±0.03, 39.06±1.89 and 1.21±0.02 minutes per study for radiopharmacists, technologists and nurses respectively. Technologists received the highest mean effective whole-body dose per study and radiopharmacists received the highest finger dose per study. When compared with the ICRP dose limit, each individual worker can work with many more 18F-FDG PET/CT studies for a whole year without exceeding the occupational dose limits. This study confirmed that low levels of radiation doses are received by our medical personnel involved in 18F-FDG PET/CT procedures.การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินปริมาณรังสีที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และ พยาบาลของหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ได้รับจากการตรวจ 18F-FDG PET/CT สำหรับโรคมะเร็งในผู้ป่วยจำนวน 70 ราย โดยศึกษาปริมาณรังสีทั่วร่างกายด้วยเครื่องวัด รังสีประจำตัวบุคคลยี่ห้อ ALOKA รุ่น PDM-112 และปริมาณรังสีที่มือด้วยแผ่นวัดรังสีโอ เอส แอล รุ่น Nano Dot พบว่าปริมาณรังสีทั่วร่างกายที่นักเภสัชรังสี นักรังสีการแพทย์ และพยาบาลได้รับต่อ ผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 1.07±0.09, 1.77±0.46 μSv และไม่สามารถวัดได้ ตามลำดับ ค่าปริมาณรังสี ที่มือต่อผู้ป่วย 1 รายมีค่าเท่ากับ 265.65±107.55, 4.84±1.08 และ 19.22±2.59 μSv ตามลำดับ โดยใช้ เวลาในการปฏิบัติงานกับผู้ป่วยแต่ละรายเท่ากับ 5.88±0.03, 39.06±1.89 และ 1.21±0.02 นาที ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่านักรังสีการแพทย์ได้รับปริมาณรังสีทั่วร่างกายสูงสุดและนักเภสัชรังสี ได้รับปริมาณรังสีที่มือสูงสุด เมื่อนำผลปริมาณรังสีไปคำนวณเปรียบเทียบกับค่าที่กำหนดโดย องค์กรสากล International Commission on Radiological Protection โดยประมาณค่าว่าผู้ปฏิบัติงาน แต่ละรายปฏิบัติงานตลอดทั้งปีกับผู้ป่วย พบว่าค่าปริมาณรังสีมีค่าไม่เกินค่าที่กำหนด ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าผู้ปฏิบัติงานสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัยไม่เกินค่ามาตรฐานความปลอดภัยที่ผู้ปฏิบัติงาน ทางรังสีควรได้รับix, 62 leaves : ill.application/pdfengผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าOccupational MedicineRadiation MonitoringRadiobiologyRadiation ProtectionOccupational radiation doses to personnel from [18]F-FDG PET/CT procedures for tumor imaging in Ramathibodi Hospitalการศึกษาปริมาณรังสีที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับจากการตรวจ [18]F-FDG PET/CT สำหรับโรคมะเร็งในโรงพยาบาลรามาธิบดีMaster ThesisMahidol University