นิตยา ปิ่นสุวรรณชาติชาย ดิษฐสัตย์ธรรมพรสวรรค์ เส่นเพรียวศยามล เป็นสุขเหลือสาธิต อุณหกะธนัช เทือกภูเขียวเสมอ รุจิธรรมทวีพล รจนาไพบูลย์ ชินินทรกรฤทธิ์ บุตรดาพีระ เชาวนะเลิศสมศรี สังข์น้อยนุจรีย์ เมาะลาษไสว ทองศิริมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี2021-08-192021-08-192564-08-192561https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63199ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน “Mahidol Quality Fair 2018” “Valuing People : คุณค่าคน คุณค่างาน”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. หน้า 187งานบริหารพัสดุ ฝ่ายการพัสดุ ได้จัดทำโครงการ “วัสดุชี้วัดเพื่อพัฒนา” Key Inventory Indicator (K2I) จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูล พบว่า ดัชนีชี้วัดในเรื่องใบค้างจ่าย เกินเป้าหมายที่กำหนดไว้ เป็นจำนวนมาก ทำให้หน่วยงานผู้รับบริการไม่ได้รับวัสดุตามความต้องการ สาเหตุเกิดจาก เจ้าหน้าที่จัดหาดำเนินการจัดหาล่าช้า คำนวณปริมาณการสั่งซื้อไม่เหมาะสม และ ผู้ขายไม่สามารถส่งมอบวัสดุได้ทันตามเวลาที่กำหนดไว้ ดังนั้น งานบริหารพัสดุ จึงได้พัฒนาระบบการจัดการวัสดุคงคลัง โดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการ Round Store เพื่อตรวจสอบวัสดุต่ำกว่า Safety Stock และพัฒนาระบบ VMI (Vendor Managed Inventory) ให้ผู้ขายสามารถมองเห็น Stock on Hand ของเรา และเติม Stock ให้เราเอง เพื่อให้ มีระดับวัสดุคงคลังที่เพียงพอต่อการเบิก-จ่าย ผลที่ได้จากการพัฒนา คือจำนวนใบค้างจ่ายลดลง ลดการทำงานซ้ำซ้อน ระดับความพึงพอใจเพิ่มมากขึ้น และอัตราวัสดุคงคลังมีปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้หน่วยงานได้ใช้วัสดุจากคลังพัสดุ เพื่อสนับสนุนภารกิจ ทั้งด้านการรักษาพยาบาล, ด้านการศึกษา, และด้านการวิจัยthaมหาวิทยาลัยมหิดลInventory ManagementKey Performance Indicatorคลังพัสดุระบบการจัดการวัสดุคงคลังวัสดุชี้วัดเพื่อพัฒนา Key Inventory Indicator (K2I)Proceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล