กิตติธร ปานเทศฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญณัฐนารี เอมยงค์Kittithorn PanthesChardsumon PrutipinyoNatanaree Aimyongมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุขมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยา2022-05-312022-05-312565-05-312564วารสารกฎหมายสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 7, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 397-4092697-6285 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64811การวิจัยนี้เป็นการสํารวจแบบภาคตัดขวางศึกษาพฤติกรรมการนําองค์ความรู้การแพทย์แผนไทยมาให้บริการสุขภาพของบุคลากรสาธารณสุขปฐมภูมิ จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อสํารวจและหาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการนําองค์ความรู้ฯมาใช้ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสาธารณสุขปฐมภูมิ จํานวน 198 คนใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล ได้รับแบบสอบถามคืน ร้อยละ 96 จาก 11 อําเภอ หน่วยบริการ 118 แห่ง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติไคสแควร์ และ Binary Logistic Regression ผลการศึกษา พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ได้แก่ 1) ปัจจัยการรับรู้ คือ การรับรู้ประโยชน์ของการแพทย์แผนไทย 2) ปัจจัยการยอมรับคือ การยอมรับแนวคิดของการแพทย์แผนไทย 3) ปัจจัยส่วนบุคคล คือ อายุในช่วง 20-29 ปี ตําแหน่งงาน การเคยได้รับการฝึกอบรมมาก่อน สรุปได้ว่า การทําให้บุคลากรสาธารณสุขปฐมภูมิมีพฤติกรรมการนําองค์ความรู้ฯมาใช้มากขึ้น ควรจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ที่การกระจายในทุกตําแหน่งงาน เลือกในช่วงอายุ 20- 29 ปี เป็นลําดับแรก โดยควรวางพื้นฐานวิธีคิดตามองค์ความรู้ฯ อย่างเป็นเหตุเป็นผล นําเสนอประโยชน์ในเชิงลึกมากขึ้น สร้างแนวทางการใช้ยาสมุนไพรทดแทน ฯ โดยแบ่งกลุ่มตามรสยาThis cross-sectional analytical survey aims to study utilizing knowledges of Thai traditional in primary health care services in Chachoengsao province. The purposes are to survey associating factors on utilizing behavior of primary healthcare providers. Participants were 198 primary healthcare providers, with data collection through questionnaire. In all, 96 percent of questionnaire were returned from all of 11 districts in Chachoengsao province, with 118 healthcare units. Statistical analysis included Chi-square test and Binary logistic regression analysis.The research results indicated that factors which have association and influence on utilizing behavior, with statistically significant, are 1) perception of benefits from Thai traditional medicine; 2) accepting factor of traditional Thai philosophy as alternative to conventional medicine; 3) personal factors: 20-29 years of age, job position as healthcare providers, prior training in Thai traditional and herbal medicines. In conclusion, for improved utilizing behavior are: to provide training for var iouspositions in healthcare providers, especially person aged 20-29 years old, laying foundation of thinking according to rational Thai traditional knowledges, blending with usefulness and philosophy.thaมหาวิทยาลัยมหิดลองค์ความรู้การแพทย์แผนไทยยาสมุนไพรThai traditional knowledgeHerbal medicinesปัจจัยที่เกี่ยวกับพฤติกรรมการนําองค์ความรู้การแพทย์แผนไทยมาให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ จังหวัดฉะเชิงเทราFactor related with utilizing of Thai traditional medicines knowledge in primary health care service, Chachoengsao provinceOriginal Articleภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล