ขนิษฐา จิตรอารีศุภลักษณ์ พรมศรสุธางค์ ตัณทนาวิวัฒน์สกาวรัตน์ เตชทวีทรัพย์ภาพวิจิตร เสียงเสนาะสุธิดา สกุลกรุณาอรรณพัฑฒ์ บุญจันทร์จารุกูล ตรีไตรลักษณะKhanitha JitareeSupaluk PromsornSutang TantanavivatSakaowrat TechataweesubPhapvijid SeangsanorSutida MingsoongnernAnnapat BoonchanJarugool Tretriluxanaมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด2022-09-282022-09-282565-09-282564https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79712ปัญญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน " Mahidol culture : M-A-H-I-D-O-L”. ณ อาคารมหิดลสิทธาคาร มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา, นครปฐม. 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564. หน้า 132ในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น Transcranial magnetic stimulation (TMS) นำมาใช้ร่วมกับการรักษามาตรฐานเพื่อการ รักษาผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบจากโรคหลอดเลือดสมอง จากการศึกษาที่ผ่าน มาพบว่า การใช้เครื่องกระตุ้นสมองด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าแบบความถี่ต่ำ ร่วมกับเทคนิคการรักษาทางกายภาพบำบัดแบบเฉพาะเจาะจงในผู้ป่วยโรค หลอดเลือดนั้น มีส่วนช่วยพัฒนาความสามารถในการใช้งานแขนด้านที่อ่อน แรงและช่วยให้ความสามารถคงค้างไว้ได้มากกว่าการฝึกทางกายภาพบำบัด เพียงอย่างเดียว7-9 ทางศูนย์กายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิด ให้บริการคลินิกการรักษาทางกายภาพบำบัดร่วมกับการกระตุ้นสมองด้วย TMS มากกว่า 6 เดือน เพื่อศึกษาผลลัพธ์การให้บริการที่ผ่านมาส่งผลต่อการ ฟื้นฟูผู้ป่วยได้มากน้อยเพียงใดและนำไปสู่การปรับปรุงการดำเนินงานและการ ฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของทางคลินิกในอนาคต โดยศึกษาผลการ ฟื้นฟูสมรรถภาพของการใช้งานรยางค์แขนของผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ คลินิก การรักษาทางกายภาพบำบัดร่วมกับการกระตุ้นสมองด้วย TMS ศูนย์ กายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดลthaมหาวิทยาลัยมหิดลโรคหลอดเลือดสมองเครื่องกระตุ้นสมองกายภาพบำบัดMahidol Quality Fairผลการรักษาทางกายภาพบำบัดร่วมกับการกระตุ้นสมองด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าTranscranial Magnetic stimulation: TMSProceeding Abstractกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล