รัฐพันธ์ กาญจนรังสรรค์อารมย์ ตรีราชมนต์ชัย โชติดาวRatapan KanjanarungsanArom TreerajMonchai Chottidaoมหาวิทยาลัยมหิดล. วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาMahidol University. College of Sports Science and Technology2015-03-142017-03-162015-03-142017-03-162015-03-142011-12วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2 (ธ.ค. 2554), 80-90https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1425การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสมบูรณ์และสมรรถภาพกลไกของยุวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายยุวชนรักกีฬา ณ วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา มหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุ่มตัวอย่างคือ เด็กอายุระหว่าง 7-12 ปี จานวน 155 คน ประกอบด้วย เพศชาย 83 คน และเพศหญิง 72 คน และทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาของค่ายยุวชนรักกีฬา เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ทำการทดสอบสมรรถภาพกลไก ก่อนและหลังเข้าค่ายการฝึกกีฬา ด้วยแบบทดสอบสมรรถภาพกลไกจำนวน 5 รายการ คือ ยืนกระโดดไกล ลุกนั่ง 30 วินาที ดันพื้น วิ่งกลับตัว และวิ่ง 5 นาที ผลการศึกษาพบว่า เด็กเพศชายมีค่าการดันพื้นก่อนและหลังการฝึกกีฬา เพียงค่าเดียวที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P< 0.05) ส่วนในเด็กเพศหญิง พบว่า ค่าการลุก-นั่ง (30 วินาที) การดันพื้น และการวิ่ง 5 นาที ก่อนและหลังการฝึกกีฬา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P< 0.05) อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาตามกลุ่มอายุ ในเรื่องของสมรรถภาพกลไกก่อนและหลังการฝึกกีฬา พบว่า ค่าการดันพื้นก่อนและหลังการฝึกกีฬา ภายในกลุ่มอายุ 7, 8, 10 และ 11 ปี มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P< 0.05) และในส่วนของจำนวนครั้งในการลุกนั่ง (30 วินาที) ก่อนและหลังการฝึกกีฬา ภายในกลุ่มเด็กอายุ 10 ปีและ 12 ปี มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P< 0.05)จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า กิจกรรมการฝึกกีฬาอันได้แก่ กีฬาว่ายน้า เทนนิส แบดมินตัน ฟุตบอล และยิมนาสติก ก่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถภาพกลไกในเด็ก ทาให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงและทนทานมากขึ้น และนอกจากจะเป็นการพัฒนาสมรรถภาพกลไกแล้ว กิจกรรมการฝึกกีฬาภาคฤดูร้อนยังช่วยพัฒนาสมรรถภาพทางด้านจิตใจ และเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อยุวชนในช่วงปิดภาคเรียนอีกด้วยThe purpose of this study was to investigate the motor fitness characteristics of children in Sports Science’s Summer Camp. There were 155 participants, 83 males and 72 females, aged 7-12 years, participating in the present study. The children in this study underwent exercise in sports activity training program for 6 weeks. Motor fitness variables were tested pre and post exercise program by using Japan Amateur Sports Association or JASA Test including; 1) standing long jump 2) sit-up (30 second) 3) push-up 4) shuttle run and 5) 5 minute run. The results show that push-up during pre and post exercise program was significantly increase in male group (p<0.05). Sit-up (30 second), push-up and run 5 minute were significantly increase in female group (p<0.05). Push-up during pre and post exercise program was significant in 7, 8, 10 and 11 years group (p<0.05). Pre and post exercise program of sit-up (30 second) in 10 and 12 years group were significant (p<0.05). In conclusion, sports activity training in Sports Science’s Summer Camp such as swimming, tennis, badminton, football and gymnastic improved the motor fitness and increased the strength and endurance of muscle in children. Moreover, exercise in sports activity training may enhance the mental fitness and increase the benefit of free time in summer vacation.thaมหาวิทยาลัยมหิดลสมรรถภาพกลไกกิจกรรมกีฬาความแข็งแรงความอดทนMotor FitnessSports ActivityStrengthEnduranceOpen Access articleวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาJournal of Sports Science and Technologyผลของการฝึกกิจกรรมค่ายยุวชนรักกีฬาที่มีผลต่อสมรรถภาพกลไกในเด็กEffects of sports activity in summer camp training on motor fitness in childrenOriginal Articleสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬาแห่งประเทศไทย (สวกท)