สิวนุุช บุุญยังเรณู พุุกบุุญมีณัฐชัย อนันตสิทธิ์จิราภรณ์ ปั้้นอยู่Sivanut BoonyoungRenu PookboonmeeNattachai AnantasitJiraporn Punyoo2024-06-252024-06-252567-06-252566วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2566), 176-1912822-1370 (Print)2822-1389 (Online)https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98955This study aimed to develop and evaluate clinical nursing practice guidelines for critically ill children receiving Extracorporeal Membrane Oxygenation (ECMO) to avoid complications and enable patients to receive treatment more quickly. Donabedian’s concept of service quality improvement was used and combined with relevant pathophysiology literature to guide the study. The development of evidence-based practice guidelines included 31 research and academic articles. Three stages were created using the following guidelines: 1) ECMO preimplantation nursing care, 2) nursing care while using the ECMO, and 3) post-ECMO nursing care. Three experts evaluated the validity and accuracy of the guidelines, which were then applied to eight critically ill pediatric patients using an ECMO machine. Seventy-five percent of cases required the veno-arterial (VA) ECMO. The average length of stay in the intensive care unit was 11.75 days. The most frequently encountered complication was bleeding. However, when nurses assessed and monitored patients closely, as per clinical nursing practice guidelines, they all were safe. Thrombosis in the pre-membrane circuit was the second complication. When nurses examined the pressure values at the pre-post membrane and checked for clots in the circuit at each turn, they ensured that the patient was not in danger. From 32 nurses, the probability of following the guidelines was high to extremely high. Overall, nurses reported a high to a very high level of satisfaction with the guideline implementation. This study suggested that ECMO nurses should closely monitor the long-term implications of these clinical nursing practice guidelines for criticallyill pediatric patients receiving ECMO to ensure the feasibility and usefulness of the guidelines for patient safety.การศึกษานี้เป็นการพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่ใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนตลอดจนสามารถประเมินภาวะการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ อาจเกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที การศึกษานี้ใช้กรอบแนวคิดการพัฒนาคุุณภาพการบริการของโดนาบีเดียนร่วมกับแนวคิดด้านพยาธิสรีรวิทยา ในการพัฒนาแนวปฏิบัติโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งมีงานวิจัยและบทความวิชาการทั้งหมด 31 เรื่อง แนวปฏิบัติมี 3 ระยะ คือ 1) การดูแลระยะก่อนการใส่เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ 2) การดูแลขณะใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ และ 3) การดูแลระยะหลังการถอดเครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ แนวปฏิบัตินี้ได้รับการตรวจสอบความตรงและความถููกต้องเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุุณวุุฒิ การนำแนวปฏิบัติไปใช้กับผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่ ใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ จำนวน 8 ราย ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องพยุงการทำงานของหัวใจและปอด (venoarterial extracorporeal membrane oxygenation หรือ VAECMO) ร้อยละ 75 จำนวนวันนอนเฉลี่ยในหอผู้ป่วยวิกฤตเท่ากับ 11.75 วัน ภาวะแทรกซ้อนที่พบมากที่สุดคือ ภาวะเลือดออก แต่เมื่อพยาบาลมีการประเมินและติดตามอย่างใกล้ชิดตามแนวปฏบัติที่พัฒนาขึ้น ทำให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที่ พบว่าผู้ป่วยทุุกรายปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน รองลงมาคือ ภาวะมีลิ่มเลือดในวงจรบริวณด้านหน้าปอดเทียมพยาบาลตรวจสอบค่าแรงดันบริเวณด้านหน้าและด้านหลังของปอดเทียม และตรวจสอบลิ่มเลือดในวงจร ผู้ป่วยได้รับการดููแลอย่างใกล้ชิดจึงไม่เกิดอันตรายต่อ ผู้ป่วยสำหรับความเป็นไปได้ในการนำแนวปฏิบัติไปใช้จากพยาบาล 32 ราย พบว่า ความเป็นไปได้ในการนำแนวปฏิบััติการพยาบาลไปใช้อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุุด ความพึงพอใจของพยาบาลในการนำแนวปฏิบัติไปใช้อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุดการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่าพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยเด็ก วิกฤิตที่ใช้เครื่องพยุง การทำงานของปอดและหัวใจ ควรมีการติดตามผลลัพธ์ของการใช้แนวปฏิบัติในระยะยาว เพื่อติดตามความเป็นไปได้ของการนำแนวปฏิบัติไปใช้ประโยชน์ของแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยthaผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้าแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกผู้ป่วยเด็กวิกฤตเครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจClinical nursing practice guidelineCritical ill childrenExtracorporeal membrane oxygenation (ECMO)การพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยเด็กวิกฤตที่ใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจResearch Articleโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล